องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก องค์การบริหารปาเลสไตน์)
องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ السلطة الفلسطينية As-Sulṭah Al-Filasṭīniyyah | |
---|---|
แผนที่แสดงพื้นที่การควบคุมขององค์การบริหารปาเลสไตน์หรือ การควบคุมร่วม (สีแดง) จนถึงปี 2549 | |
ศูนย์กลางบริหาร | รอมัลลอฮ์ (เวสต์แบงก์) เยรูซาเล็ม (ประกาศ)[1] |
ภาษาราชการ | อาหรับ |
การปกครอง | รัฐบาลเฉพาะกาล (ระบบกึ่งประธานาธิบดี)[2] |
มาห์มูด อับบาสa | |
รามี ฮัมดัลเลาะห์b | |
ก่อตั้ง | |
• สถาปนา | 4 พฤษภาคม 2537 |
ประชากร | |
• 2555 (กรกฎาคม) ประมาณ | 2,124,515[3]ค (126) |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2552 (ประมาณ) |
• รวม | $12,790 ล้าน[3] ( –) |
• ต่อหัว | $2,900[3] (–) |
สกุลเงิน | Israeli shekel (NIS)[4] (ILS) |
เขตเวลา | UTC+2 ( ) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+3 ( ) |
รหัสโทรศัพท์ |
|
โดเมนบนสุด | |
Notes a b c
|
องค์การบริหารปาเลสไตน์ (อาหรับ: السلطة الوطنية الفلسطينية As-Sulṭah Al-Waṭaniyyah Al-Filasṭīniyyah) เป็นองค์การปกครองที่ตั้งขึ้นเพื่อปกครองเวสต์แบงก์และฉนวนกาซา เป็นผลของข้อตกลงกรุงออสโลปี 2537[5][6] นับแต่สถาปนา ได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ และในปี 2556 รัฐบาลฟาตาห์ที่นานาประเทศรับรองในเวสต์แบงก์เปลี่ยนชื่อตนเองเป็นรัฐปาเลสไตน์[7] หลังการเลือกตั้งในปี 2549 และความขัดแย้งที่เกิดขึ้นตามมาระหว่างพรรคฟาตาห์และฮามาส อำนาจขององค์การฯ จึงขยายไปถึงเพียงเวสต์แบงก์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ The Palestinian law, approved by the PLC in May 2002, states in article 3 that "Jerusalem is the Capital of Palestine". Ramallah serves as the administrative capital and the location of government institutions and representative offices of Australia, Brazil, Canada, Colombia, the Czech Republic, Denmark, Finland, Germany, Malta, the Netherlands, South Africa and Switzerland. Israel's claim over the whole of Jerusalem was not accepted by the UN which maintains that Jerusalem's status is pending final negotiation between Israel and Palestinians.
- ↑ ไม่มีการจัดการเลือกตั้งนับแต่ปี 2549 ("The Palestinian Authority".)
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "CIA – The World Factbook". cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-06. สืบค้นเมื่อ 2013-01-21.
- ↑ According to Article 4 of the 1994 Paris Protocol ([1]). The Protocol allows the Palestinian Authority to adopt additional currencies. In the West Bank, the Jordanian dinar is widely accepted, while the Egyptian pound is often used in the Gaza Strip.
- ↑ "The Palestinian Authority".
- ↑ "The Palestinian government". CNN. 5 April 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-17. สืบค้นเมื่อ 2012-11-26.
- ↑ Associated, The (2012-12-18). "Palestinian Authority officially changes name to 'State of Palestine'". Haaretz Daily Newspaper. สืบค้นเมื่อ 2013-01-05.