ข้ามไปเนื้อหา

สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อับดุล จาลีลุล อักบาร์
عبد الجليل الأكبر
สุลต่านบรูไน
ครองราชย์1598–1659
ก่อนหน้ามูฮัมมัด ฮาซัน
ถัดไปอับดุล จาลิลุล จับบาร์
ประสูติอับดุล จาลีลุล อักบาร์ อิบนู มูฮัมมัด ฮาซัน
สวรรคตค.ศ. 1659
คู่อภิเษกราดิน มัซ อายู ซีตี ไอชะฮ์
พระราชบุตร
รายละเอียด
พระนามเต็ม
อับดุล จาลีลุล อักบาร์ อิบนู มูฮัมมัด ฮาซัน
พระรัชกาลนาม
สุลต่าน อับดุล จาลีลุล อักบาร์ อิบนู อัล-มัรฮุม สุลต่าน มูฮัมมัด ฮาซัน
ราชวงศ์โบลเกียห์
พระราชบิดาสุลต่านมูฮัมมัด ฮาซัน
ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี

สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ อิบนู มูฮัมมัด ฮาซัน (มลายู: Abdul Jalilul Akbar ibnu Muhammad Hasan, عبد الجليل الأكبر ابن محمد حسن; สวรรคต ค.ศ. 1659)[1] มีอีกพระนามว่า มาร์ฮุมตูวา (Marhum Tua) เป็นสุลต่านบรูไนองค์ที่ 11.[2] ผู้ครองราชย์เป็นเวลา 61 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1598 ถึง 1659 ถือเป็นสุลต่านบรูไนที่ครองราชย์นานที่สุดในปัจจุบัน

รัชสมัย (ค.ศ. 1598–1659)

[แก้]

ชีวิตส่วนพระองค์

[แก้]

สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ทรงอภิเษกสมรสสามครั้ง โดยพระชายาองค์ที่สองคือราดิน มัซ อายู ซีตี ไอชะฮ์ บินตี เปองีรัน (กีไย) เตอเมิงกง มันจู เนอโกโร เกอรีซิก[1][3] พระองค์มีพระราชโอรสธิดารวม 8 พระองค์ โดยมีองค์สำคัญได้แก่:

ใน ค.ศ. 1599 สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ทรงแต่งตั้งเปองีรัน ราจา เตองะฮ์ อิบราฮิม อาลี โอมาร์ ชะฮ์ พระเชษฐา/อนุชา เป็นสุลต่านซาราวักองค์แรก[6] ตามธรรมเนียมระบุว่า หลังสุลต่านอิบราฮิม อาลี โอมาร์ ชะฮ์สวรรคตใน ค.ศ. 1641 ไม่มีการเลือกสุลต่านใหม่ และซาราวักจึงบริหารโดยดาตูท้องถิ่น 4 คนจนกระทั่งรายาผิวขาวคนแรกเดินทางมาถึงใน ค.ศ. 1842

สวรรคต

[แก้]

สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์สวรรคตหลังครองราชย์ไป 61 ปีใน ค.ศ. 1659 หลังสวรรคต พระองค์กลายเป็นที่รู้จักในพระนาม มาร์ฮุมตูวา[7] Olivier van Noort did not mention the name of the ruling sultan at that time, but managed to describe that the Brunei sultan was under the guardianship of his uncle who acted as his regent.[8][9]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Awang.), Mohd Jamil Al-Sufri (Pehin Orang Kaya Amar Diraja Dato Seri Utama Haji (1997). Tarsilah Brunei: Zaman kegemilangan dan kemasyhuran (ภาษามาเลย์). Jabatan Pusat Sejarah, Kementerian Kebudayaan Belia dan Sukan. pp. 146, 201.
  2. Museum, Sarawak (1997-12-02). The Sarawak Museum Journal (ภาษามาเลย์). Sarawak Museum. p. 265.
  3. Jurnal Beriga (ภาษามาเลย์). Dewan Bahasa dan Pustaka Brunei, Kementerian Kebudayaan, Belia dan Sukan. 2009. p. 76.
  4. Gin, Ooi Keat (2015-12-14). Brunei - History, Islam, Society and Contemporary Issues (ภาษาอังกฤษ). Routledge. p. 54. ISBN 978-1-317-65998-3.
  5. Papers Relating to Brunei (ภาษาอังกฤษ). Malaysian Branch of the Royal Asiatic Society. 1998. p. 111. ISBN 978-967-9948-14-1.
  6. Maxwell, Allen R. (2005). Malay Historical Writing: Two Manuscripts from the Sarawak Museum (ภาษาอังกฤษ). Sarawak Museum. p. 199. ISBN 978-983-9468-05-2.
  7. "Sejarah Sultan-Sultan Brunei" (PDF). Hmjubliemas.gov.bn. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-01-31. สืบค้นเมื่อ 3 February 2018.
  8. Nicholl, Robert (1990). European Sources for the History of the Sultanate of Brunei in the Sixteenth Century (second ed.). Brunei: Brunei Museum. pp. 94–99.
  9. History of Brunei: For Lower Secondary Schools (ภาษาอังกฤษ). Dewan Bahasa dan Pustaka. 1989. p. 9.
ก่อนหน้า สุลต่านอับดุล จาลีลุล อักบาร์ ถัดไป
สุลต่านมูฮัมหมัด ฮัสซัน
สุลต่านบรูไน
(ค.ศ. 1598–1659)
สุลต่านอับดุล จาลิลุล จับบาร์