ข้ามไปเนื้อหา

จิ้งจกบ้าน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก สกุลจิ้งจกบ้าน)
จิ้งจกบ้าน
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: 199–0Ma จูแรสซิก-ปัจจุบัน
จิ้งจกบ้านหางแบน (H. platyurus)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Reptilia
อันดับ: Squamata
อันดับย่อย: Lacertilia
วงศ์: Gekkonidae
วงศ์ย่อย: Gekkoninae
สกุล: Hemidactylus
Gray, 1825
ชนิดต้นแบบ
Gecko tuberculosus
ชนิด
ดูในเนื้อหา
ชื่อพ้อง
  • Aliurus Dunn & Dunn, 1940
  • Boltalia Gray, 1842
  • Bunocnemis Günther, 1894
  • Doryura Gray, 1845
  • Emydactylus Bocourt, 1870
  • Eurhous Fitzinger, 1861
  • Hoplopodion Fitzinger, 1843
  • Leiurus Gray, 1845 (non Ehrenberg, [1828]: preoccupied)
  • Liurus Cope, 1862 (non Ehrenberg, 1831: preoccupied)
  • Lophopholis Smith & Deraniyagala, 1934
  • Microdactylus Fitzinger, 1843 (non É.Geoffroy Saint-Hilaire, 1809: preoccupied)
  • Nubilia Gray, 1845
  • Onychopus Fitzinger, 1843
  • Pnoepus Fitzinger, 1843
  • Tachybates Fitzinger, 1843
  • Velernesia Gray, 1845

จิ้งจกบ้าน หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า จิ้งจก เป็นสัตว์เลื้อยคลาน ที่อยู่ในสกุล Hemidactylus

พบมากในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแพร่พันธุ์ไปในหลายประเทศทั่วโลก ทั้งแอฟริกาตะวันออก, นิวกินี, เม็กซิโก, มาดากัสการ์, ออสเตรเลีย และหลายพื้นที่ทั่วโลก สามารถพบเห็นได้ทั่วไปตามที่พักอาศัย

สำหรับชนิดที่พบได้บ่อยและแพร่หลายที่สุดในประเทศไทย คือ จิ้งจกบ้านหางแบน (H. platyurus) และจิ้งจกบ้านหางหนาม (H. frenatus)

มีสี่เท้า มีลำตัวขนาดเล็ก ลำตัวแบน หัวสั้น และมีหาง ไม่มีม่านตา โดยเฉลี่ยลำตัวจะมีความยาว 3 นิ้ว ตัวเต็มวัยอาจจะถึง 5 นิ้วมีสีน้ำตาลอ่อนจนถึงเข้ม ลิ้นสั้นแต่ยืดออกได้ ผิวหนังค่อนข้างละเอียด ตัวมักมีสีขาวหรือคล้ำ สามารถปรับตัวให้กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อม เท้าเหนียวช่วยให้ไต่ไปตามเพดานหรือข้างฝาได้ มักอาศัยอยู่ตามบ้านเรือน[1] มีอายุประมาณ 5-10 ปี การงอกใหม่ของหางจิ้งจกใช้เวลาประมาณ 2-6 สัปดาห์ ระยะเวลาขึ้นอยู่กับขนาดของหางที่ขาดหายไป อาหาร และสุขภาพ ขยายพันธุ์ด้วยออกลูกเป็นไข่ ซึ่งตัวเมียนั้นจะออกไข่คราวละ 2 ฟอง มีความกว้างประมาณ 0.5-0.9 เซนติเมตร และมีความยาว 0.6-1.0 เซนติเมตร ไข่จะใช้เวลาในการฟักตัวเป็นเวลา 50-65 วันหลังจากออกจากท้องของตัวเมีย โดยเมื่อตัวอ่อนออกจากไข่แล้วจะมีขนาดประมาณ 2 นิ้ว ไข่มีสีขาว ลำตัวเป็นปล้องๆหางขาดแล้วยังสามารถดิ้นได้เเละสามารถ งองใหม่ได้

ชนิด

[แก้]

รายการอ้างอิง

[แก้]
  1. Lizards of the World (2004): Hemidactylus เก็บถาวร 2008-08-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Version of 2004-FEB-08. Retrieved 2009-APR-04.
  2. จาก ITIS.gov (อังกฤษ)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • Byiiuo, John L.; King, F. Wayne (1979). The Audubon Society Field Guide to Reptiles and Amphibians of North America. New York: Alfred A. Knopf. p. 581. ISBN 0394508246.
  • Capula, Massimo (1989). Simon & Schuster's Guide to Reptiles and Amphibians of the World. New York: Simon & Schuster. ISBN 0671690981. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  • Cogger, Harold; Zweifel, Richard (1992). Reptiles & Amphibians. Sydney: Weldon Owen. ISBN 0831727861.
  • Conant, Roger; Collins, Joseph (1991). A Field Guide to Reptiles and Amphibians Eastern/Central North America. Boston, Massachusetts: Houghton Mifflin Company. ISBN 0395583896.
  • Ditmars, Raymond L (1933). Reptiles of the World: The Crocodilians, Lizards, Snakes, Turtles and Tortoises of the Eastern and Western Hemispheres. New York: Macmillian. p. 321.
  • Freiberg, Dr. Marcos; Walls, Jerry (1984). The World of Venomous Animals. New Jersey: TFH Publications. ISBN 0876665679.