ข้ามไปเนื้อหา

วี8 (จาวาสคริปต์เอนจิน)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก วี8 (เอนจินจาวาสคริปต์))
วี8 (จาวาสคริปต์เอนจิน)
ผู้ออกแบบLars Bak of Google
นักพัฒนาThe Chromium Project
วันที่เปิดตัว2 กันยายน 2008; 16 ปีก่อน (2008-09-02)
รุ่นเสถียร
11.4[1] แก้ไขบนวิกิสนเทศ / 24 พฤษภาคม 2023; 19 เดือนก่อน (24 พฤษภาคม 2023)
ที่เก็บข้อมูล
ภาษาที่เขียนC++[2]
แพลตฟอร์มIA-32, x86-64, ARM, AArch64, MIPS, MIPS64[3] PowerPC, IBM ESA/390
ประเภทJavaScript and WebAssembly engine
สัญญาอนุญาตBSD[4]
เว็บไซต์v8.dev Edit this on Wikidata

วี8 คือจาวาสคริปต์เอนจินและWebAssemblyที่เสรีและโอเพนซอร์ส พัฒนาโดยโครงการโครเมียม สำหรับเว็บเบราว์เซอร์โครเมียม และ กูเกิล โครม [5] ผู้สร้างโครงการคือ ลาร์ส บัค [6] เวอร์ชันแรกของเอนจิน V8 เปิดตัวพร้อมกับ Chrome เวอร์ชันแรก: 2 กันยายน 2008 นอกจากนี้ยังถูกใช้บนฝั่งเซิร์ฟเวอร์ด้วย เช่น ใน Couchbase, Deno และ Node.js

การใช้งาน

[แก้]

วี8 ทำงานได้บนสถาปัตยกรรม x86, ARM, MIPS, PowerPC[7] และ IBM ESA/390[8][9] สำหรับใช้ในเซิร์ฟเวอร์[3][10]

วี8 สามารถใช้ได้ทั้งในเบราว์เซอร์หรือผสานเข้าไปในโปรเจกต์อื่น ตัวอย่างเช่น:

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Chrome Platform Status". สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2023.
  2. "V8 JavaScript Engine". Google LLC.
  3. 3.0 3.1 "Introduction - Chrome V8". Google Inc.
  4. "v8/LICENSE.v8 at master". Github.
  5. Lenssen, Philipp (1 September 2008). "Google on Google Chrome - comic book". Google Blogoscoped. สืบค้นเมื่อ 17 August 2010.
  6. Minto, Rob (27 March 2009). "The genius behind Google's web browser". Financial Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 December 2011. สืบค้นเมื่อ 1 June 2021.(ต้องสมัครสมาชิก)
  7. "GitHub - ibmruntimes/v8ppc: Port of Google V8 javascript engine to PowerPC®". April 21, 2019 – โดยทาง GitHub.
  8. "Port of Google V8 JavaScript engine to z/OS. The Linux on Z port is maintained in the community: ibmruntimes/v8z". April 2, 2019 – โดยทาง GitHub.
  9. "PPC support for Google V8 goes mainstream". June 30, 2015.
  10. "V8 Changelog v3.8.2". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 October 2012. สืบค้นเมื่อ 23 October 2012.
  11. "A secure JavaScript/TypeScript runtime built with V8, Rust, and Tokio: denoland/deno". July 8, 2019 – โดยทาง GitHub.
  12. "Overview - NativeScript Docs". docs.nativescript.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-28. สืบค้นเมื่อ 2024-01-11.
  13. Jolie O'Dell (March 10, 2011). "Why Everyone Is Talking About Node". Mashable.
  14. "Difference between qt qml and qt quick". Stack Overflow. สืบค้นเมื่อ 2020-09-26.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แม่แบบ:ECMAScriptแม่แบบ:Google FOSSแม่แบบ:NodeJs