ข้ามไปเนื้อหา

วิกิพีเดีย:สภากาแฟ/อภิปราย/การเพิ่มบทความเพื่อจุดประสงค์ทางการศึกษา/ตัวอย่าง 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รุ่นที่ถูกลบของหน้า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ตั้งแต่ 22 กันยายน 2553)

ความหมาย

[แก้]

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

[แก้]
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ
การกระทำใดๆที่ใช้คอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ หรือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ กระทำความผิดทางอาญา หรือได้กระทำการฝ่าฝืน พระราชบัญญัติว่าด้วยการทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่งผู้กระทำได้รับประโยชน์จากระกระทำความผิดดังกล่าว และ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ยังก่อให้เกิดความเสียหายโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจในประเทศเป็นจำนวนมาก ฉะนั้น อาชญากรรมคอมพิวเตอร์จึงจัดอยู่ใน อาชญากรรมเศรษฐกิจ อย่างหนึ่งที่สำคัญมาก [1]

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์

[แก้]
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คือ
ในพระราชบัญญติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ได้ให้คำจัดความว่า ธุรธรรมอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ธุรกรรมที่กระทำขึ้นโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน[2] ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เป็นการดำเนินงานโดยอาศัยเครือข่ายอินเตอร์เป็นสื่อกลางในการติดต่อค้าขายภายนอกองค์กร[3] หรือก่อให้นิติสัมพันธ์ระหว่าง รัฐกับรัฐ รัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชน [4]ซึ่งการทำธุรกรรมบนอินเตอร์ ทำการซื้อขาย หรือการให้บริการของภาครัฐและเอกชน มีความสะดวกสะบายมากขึ้น รวดเร็วมากขึ้น เช่น การให้บริการของธนาคารหลายแห่งโดยใช้ระบบ E-Banking เป็นต้น

ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

[แก้]
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ
ข้อความหรือสัญลักษณ์ต่างๆที่ติดมากับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อระบุตัวบุคคลหรือแสดงความเป็นเจ้าของลายมือชื่อ รวมไปถึงการยอมรับในข้อความหรือสัญลักษณ์ที่ติดมากับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อีกด้วย[5]

ลายมือชื่อดิจิตัล

[แก้]
ลายมือชื่อดิจตัลคือ
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จากการเข้ารหัสข้อมูลด้วยกุญแจส่วนตัวของผู้ส่ง(ลายมือชื่อ) ซึ่งลายมือชื่อดิจิตัลนั้น สามารถระบุตัวผู้เป็นเจ้าขงนั้นได้ และยังสามารถป้องกันการปฎิเสธความรับผิดชอบและป้องกันข้อมูลที่ส่งไปไม่ให้ถูกแก้ไขหรือถูกแก้ไขก็สามารถรู้ได้[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ คือ
  2. พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ 2550
  3. [ http://blog.eduzones.com/dena/4920 ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เป็นการดำเนินงานโดยอาศัยเครือข่ายอินเตอร์เป็นสื่อกลางในการติดต่อค้าขายภายนอกองค์กร]
  4. ก่อให้นิติสัมพันธ์ระหว่าง รัฐกับรัฐ รัฐกับเอกชน หรือเอกชนกับเอกชน
  5. ดร.ไพจิตร สวัสดิสาร,การใช้คอมพิวเตอร์ทางกฎมายและกฎหมายที่เกี่ยวับคอมพิวเตอร์,หน้าที่ 162
  6. ลายมือชื่อดิจิทัล