ข้ามไปเนื้อหา

กะท้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก วงกะท้อน)
กะท้อน
ภาพสมาชิกวงกะท้อนใน พ.ศ. 2530
ข้อมูลพื้นฐาน
แนวเพลงเพลงเพื่อชีวิต, เพลงลูกทุ่ง
ช่วงปีพ.ศ. 2529 - 2536
ค่ายเพลงครีเอเทีย, แกแล็กซี่
สมาชิกระพินทร์ พุฒิชาติ (ต้อย)
ศักดิ์สิทธิ์ เชื้อกลาง (เศก)
อู๊ด ยานนาวา (อู๊ด)
ฉัตรชัย คณะใน (หน่อย)
สำราญ ศรีทรัพย์ (แอ๊ด)
สามารถ พิมพา (บิลลี่)
ปราโมทย์ ทิพยโอสถ (ป้อม)
วันทนีย์ เอียดเอื้อ (อ้อย)
สมพิศ ศิลปวานนท์ (น้อย)
อดีตสมาชิกระพินทร์ พุฒิชาติ ศักดิ์สิทธิ์ เชื้อกลาง และ วันทนีย์ เอียดเอื้อ

กะท้อน [note 1] เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งโดย ระพินทร์ พุฒิชาติ (ต้อย) กับเศก ศักดิ์สิทธิ์ [1] โดยมีนักร้องนำหญิงคือ วันทนีย์ เอียดเอื้อ และสมทิศ ศิลปวานนท์ ซึ่งเคยเป็นนักร้องเด็กร่วมงานกับระพินทร์ ในสองวัย เริ่มมีผลงานเพลงชุดแรกกับค่ายครีเอเทีย (ซึ่งไม่เคยรับศิลปินเพลงเพื่อชีวิตมาก่อน) เมื่อปี พ.ศ. 2529 และออกอัลบั้มตามมาอีกสองชุด ก่อนที่ระพินทร์ และศักดิ์สิทธิ์ หัวหอกสำคัญของวงจะแยกตัวแล้วก่อตั้งวง ซูซู มีผลงานโดดเด่นในปี พ.ศ. 2532 ขณะที่กะท้อนยังเก็บเกี่ยวชื่อเสียงต่อไปกับอัลบั้มอีก 4 ชุด แล้วยุบวงในที่สุด เนื่องจากไม่มี วันทนีย์ นักร้องนำฝ่ายหญิงของวงซึ่งไปออกอัลบั้มเดี่ยวแล้วจนถึงปัจจุบัน

วงกะท้อน มีเพลงที่มีชื่อเสียงได้แก่เพลง "สาวรำวง", "แม่ย่านาง", "บุญแข่งเรือ", "บุหงาอันดามัน" และ "บุหงายาวี"

สมาชิกวง

[แก้]

ผลงาน

[แก้]

กะท้อน # 1 (2529)

  1. สาวรำวง
  2. รถอีแต๋น
  3. นักปั้น
  4. งัวน้อย
  5. อาฟริกา
  6. พ่อจ๋าแม่จ๋า
  7. จักรยาน
  8. แข่งขัน
  9. เอ็กซเรย์
  10. นักเรียนเคารพ

กะท้อน # 2 ลูกสาวชาวนา (2530)

  1. ลูกสาวชาวนา
  2. นางสาวไทยแลนด์
  3. อ้ายจอห์นสัน
  4. บุญแข่งเรือ
  5. ซามูไรบุก
  6. ดีเจกลางแจ้ง
  7. จ๊ะเอ๋ลิเกไทย
  8. ลมเล
  9. ผีตองเหลือง
  10. คนไม่ทันสมัย

กะท้อน # 3 ญี่ปุ่น ยุ่นปี่ (2531)

  1. ญี่ปุ่น-ยุ่นปี่
  2. บุหงาอันดามัน
  3. สาวนากุ้ง
  4. ไทยใหญ่
  5. กองทัพงูเห่า
  6. แม่ย่านาง
  7. ร็อคแอนด์ลาว
  8. อ้ายโจ
  9. หม้ายสงคราม
  10. บทเพลงขลุ่ยอันดามัน

สังกัด : ครีเอเทีย โปรดิวเซอร์ : ซู บันทึกเสียง : แจม สตูดิโอ กะท้อนเลือดบวก (2532)

  1. บทนำ (เอดส์)
  2. สาวสแตนเลส
  3. รักเยอะแยะ
  4. หนูมาลี (มีปัญหา)
  5. ปลาดิบปลาแดก
  6. ริมน้ำน่าน
  7. ครก
  8. บุหงายาวี
  9. บุญบั้งไฟ
  10. เหลียวมองอีสาน
  11. อินโดจีน
  12. ยากูซ่า
  13. บทส่งท้าย (เอดส์)

สังกัด : ครีเอเทีย โปรดิวเซอร์ : กะท้อน บันทึกเสียง : มิกซ์ สตูดิโอ กะท้อน A.T.M. (2533)

  1. นักร้องน้องใหม่
  2. มิสเตอร์ เอทีเอ็ม
  3. สิงไฮเวย์
  4. 40 ดีกรี
  5. ลูกผู้หญิง
  6. ทะเลป่วย
  7. นกเอี้ยงจ๋า
  8. กทม.
  9. ชาตินิยม
  10. รักกระจุย
  11. หมัดข้าวเหนียว
  12. ปีใหม่ไทยแลนด์

สังกัด : แกแล็กซี่ โปรดิวเซอร์ : กะท้อน บันทึกเสียง : มิกซ์ สตูดิโอ อิเลกทริคกะท้อน หมายเลข 1 (2534)

  1. รักแบบลาว
  2. ดรากอนบอล
  3. บินเดี่ยว
  4. มิสยูนิเวิร์ส
  5. เปิดใจออกมา
  6. บึ๊ดจ้ำบึ๊ด
  7. ลาแม่สาย
  8. สาวอุดร
  9. ล่องใต้
  10. โบกมือลา

สังกัด : แกแล็กซี่ โปรดิวเซอร์ : กะท้อน บันทึกเสียง : มิกซ์-แจม สตูดิโอ

บึ๊ดจ้ำบึ๊ด / มิสยูนิเวิร์ส # (2535)

  1. บึ๊ดจ้ำบึ๊ด
  2. มิสยูนิเวิร์ส

แร็บ แบบ ลาว / สาวอุดร # (2535)

  1. แร็บ แบบ ลาว
  2. สาวอุดร

กะท้อนพันธุ์ใหม่ : เซิ้งอำพัน (2537) เซิ้งอำพัน

  1. หาคู่
  2. ส.กินเกลี้ยง
  3. เด็กอมมือ
  4. สะตอรอปลาร้า
  5. วันเพ็ญ
  6. ปลอบใจ
  7. รอบกองไฟ
  8. ที่รักชาวบ้าน

เชิงอรรถ

[แก้]
  1. ชื่อวง "กะท้อน" คือ ชื่อเฉพาะของวงดนตรีทางพื้นเมือง ไม่ใช่วงดนตรีชั้นสูง แต่เล่นดนตรีที่สะท้อนสังคมและโลกที่สาม : เป็นนิยามจากปกเทปชุดแรก

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สองวัย-กระท้อน-ซูซู เพื่อชีวิตรวมการเฉพาะกิจ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-11. สืบค้นเมื่อ 2008-08-23.
  2. รายชื่อนักดนตรีจาก หน้าปกอัลบั้ม กะท้อน "ชุดทอง"