ข้ามไปเนื้อหา

ลวิว

พิกัด: 49°49′48″N 24°00′51″E / 49.83000°N 24.01417°E / 49.83000; 24.01417
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ลวีฟ)
ลวิว
ธงของลวิว
ธง
ตราราชการของลวิว
ตราอาร์ม
โลโกอย่างเป็นทางการของลวิว
Logo
สมญา: 
City of Lion, Ukrainian Piedmont, Banderstadt[1][2]
คำขวัญ: 
"ลวิวเปิดกว้างสู่โลก"
แซ็มแปร์ฟิเดลิส (ในอดีต)[3]
ลวิวตั้งอยู่ในประเทศยูเครน
ลวิว
ลวิว
ที่ตั้งนครลวิวในประเทศยูเครน
พิกัด: 49°49′48″N 24°00′51″E / 49.83000°N 24.01417°E / 49.83000; 24.01417
ประเทศธงของประเทศยูเครน ยูเครน
แคว้นลวิว
เขตเทศบาลนครลวิว
ก่อตั้งค.ศ. 1240–1247
กฎหมายมัคเดอบวร์คค.ศ. 1356
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีอันดรีย์ ซาดอวึย
พื้นที่
 • ทั้งหมด182.01 ตร.กม. (70.27 ตร.ไมล์)
ความสูง296 เมตร (971 ฟุต)
ประชากร
 (ค.ศ. 2017)
 • ทั้งหมด727,968 คน
 • ความหนาแน่น4,008 คน/ตร.กม. (10,380 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก)
รหัสไปรษณีย์79000–79490
รหัสพื้นที่+380 32(2)
ป้ายทะเบียนรถBC (ก่อน ค.ศ. 2004: ТА, ТВ, ТН, ТС)
เว็บไซต์city-adm.lviv.ua

ลวิว (ยูเครน: Львів, ออกเสียง: [lʲwiu̯] ( ฟังเสียง); รัสเซีย: Львов, ออกเสียง: [lʲvof]; โปแลนด์: Lwów, ออกเสียง: [lvuf] ( ฟังเสียง); เยอรมัน: Lemberg, ออกเสียง: [ˈlɛmbɛʁk] ( ฟังเสียง)) เป็นนครทางตะวันตกของประเทศยูเครน เป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางวัฒนธรรมที่สำคัญของยูเครนในปัจจุบัน และเป็นเมืองประวัติศาสตร์ เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมโปแลนด์และยิวที่สำคัญ เนื่องจากนครนี้มีประชากรจำนวนหนึ่งเป็นชาวโปแลนด์และยิวที่อพยพมาหลังสงครามโลกครั้งที่สองและการล้างชาติโดยนาซี (ค.ศ. 1944–1946) ย่านประวัติศาสตร์ของลวิวได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกจากยูเนสโก

เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 2009 นิตยสารยูเครน Focus ให้ลวิวเป็นเมืองที่ดีที่สุดของยูเครนในแง่การอยู่อาศัย[4] ลวิวยังเป็น 1 ใน 8 เมืองในการแข่งขันฟุตบอลยูโร 2012 รอบแบ่งกลุ่มอีกด้วย

ภูมิศาสตร์

[แก้]

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของลวิว
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 13.8
(56.8)
17.7
(63.9)
21.0
(69.8)
28.3
(82.9)
30.2
(86.4)
32.9
(91.2)
34.1
(93.4)
35.6
(96.1)
34.5
(94.1)
25.6
(78.1)
21.6
(70.9)
16.5
(61.7)
35.6
(96.1)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) -0.3
(31.5)
1.3
(34.3)
6.3
(43.3)
13.5
(56.3)
19.3
(66.7)
22.0
(71.6)
24.0
(75.2)
23.6
(74.5)
18.4
(65.1)
12.9
(55.2)
6.2
(43.2)
1.3
(34.3)
12.4
(54.3)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -3.3
(26.1)
-2.1
(28.2)
2.3
(36.1)
8.5
(47.3)
13.8
(56.8)
16.7
(62.1)
18.6
(65.5)
18.0
(64.4)
13.4
(56.1)
8.5
(47.3)
3.0
(37.4)
-1.6
(29.1)
8.0
(46.4)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -6.3
(20.7)
-5.5
(22.1)
-1.8
(28.8)
3.5
(38.3)
8.3
(46.9)
11.3
(52.3)
13.1
(55.6)
12.4
(54.3)
8.4
(47.1)
4.1
(39.4)
-0.2
(31.6)
-4.5
(23.9)
3.6
(38.5)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -28.3
(-18.9)
-28.6
(-19.5)
-24.5
(-12.1)
-7.3
(18.9)
-2.6
(27.3)
0.9
(33.6)
5.1
(41.2)
2.6
(36.7)
-1.2
(29.8)
-13.2
(8.2)
-16.8
(1.8)
-24.1
(-11.4)
−28.6
(−19.5)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 38.4
(1.512)
42.0
(1.654)
41.7
(1.642)
53.6
(2.11)
81.6
(3.213)
90.2
(3.551)
97.4
(3.835)
68.3
(2.689)
64.3
(2.531)
52.0
(2.047)
48.7
(1.917)
47.8
(1.882)
726.0
(28.583)
แหล่งที่มา: Клімат та погода Львів

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Бандерштадт", Вікіпедія (ภาษายูเครน), 2021-11-28, สืบค้นเมื่อ 2022-02-02
  2. Zaxid.net. "Галицькі міфи. Міф 3: Галичина – український П'ємонт". ZAXID.NET (ภาษายูเครน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-02-02.
  3. Poznaniak (2006-06-09), Coat of Arms of Lwów between 1918-1939, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 August 2021, สืบค้นเมื่อ 2022-02-02
  4. Lviv is the best city for living in Ukraine – rating, UNIAN (12 June 2009)