ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2555–2556
ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2555–2556 | |
---|---|
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | {{{ระบบแรกก่อตัว}}} |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | {{{ระบบสุดท้ายสลายตัว}}} |
สถิติฤดูกาล | |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | ไม่ทราบ |
ความเสียหายทั้งหมด | ไม่ทราบ |
Related articles | |
ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2555-2556 เป็นฤดูกาลปัจจุบันซึ่งยังมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน โดยจะเริ่มนับในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2556
แผนปฏิบัติงานพายุไซโคลนเขตร้อนในภูมิภาคถูกกำหนดเป็น "ปีพายุหมุนเขตร้อน" แยกจาก "ฤดูพายุหมุนเขตร้อน" โดย "ปีพายุหมุนเขตร้อน" เริ่มในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556[1]
ขอบเขตของภูมิภาคออสเตรเลียจะอยู่ที่พิ้นที่ตอนใต้ของเส้นศูนย์สูตร ทางตะวันออก 90°ตะวันออก และทางตะวันตกของ 160°ตะวันออก ซึ่งครอบคลุมออสเตรเลีย, ปาปัวนิวกินี, หมู่เกาะโซโลมอน, ติมอร์-เลสเต และภาคใต้ของอินโดนีเซีย[1]
พายุหมุนเขตร้อนในบริเวณนี้จะถูกตรวจสอบโดย ศูนย์เตือนภัยไซโคลนเขตร้อน (TCWCs) : ศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียในเพิร์ท, ดาร์วิน และบริสเบน ; TCWC จาการ์ตาในอินโดนีเซีย ; TCWC พอร์ตมอร์สบีในปาปัวนิวกินี[1] ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น จะใช้การเตือนภัยอย่างไม่เป็นทางการสำหรับภูมิภาค โดยดีเปรสชันเขตร้อนทางตะวันตกของ 145°ตะวันออก จะมีการกำหนดหมายเลข และเติม "S" ต่อท้าย และเติม "P" ต่อท้าย เมื่อมีพายุทางตะวันออกของ 145°ตะวันออก
พายุ
[แก้]ไซโคลนเขตร้อนฟรีด้า
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 29 December (Entered basin) – 29 December (Exited basin) | ||
ความรุนแรง | 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท) |
ไซโคลนเขตร้อนมิทเชล
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 26 December – 30 December | ||
ความรุนแรง | 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท) |
ไซโคลนเขตร้อนกำลังแรงนาเรล
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนกำลังแรงระดับ 5 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 5 January – 14 January | ||
ความรุนแรง | 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท) |
บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 12 มกราคม – ปัจจุบัน | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม 1003 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.62 นิ้วปรอท) |
รายชื่อพายุที่เกิดขึ้น
[แก้]TCWC จาการ์ตา
[แก้]TCWC จาการ์ตา จะกำหนดชื่อของพายุไซโคลนเขตร้อนจากเส้นศูนย์สูตรที่ระยะ 11°ใต้ ถึง 135°ตะวันออก เมื่อดีเปรสชันทวีความรุนแรงเป็นไซโคลนเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตา ศูนย์ก็จะเป็นผู้กำหนดชื่อของพายุจากรายการ[1] โดยชื่อต่อไปที่จะถูกใช้ต่อไปคือ บากุง
บากุง (ยังไม่ใช้) | เกมปากา (ยังไม่ใช้) | ดาฮ์เลีย (ยังไม่ใช้) | เฟลมโบยัน (ยังไม่ใช้) | เคนันกา (ยังไม่ใช้) |
ลีลี (ยังไม่ใช้) | มาวาร์ (ยังไม่ใช้) | เซโรจา (ยังไม่ใช้) | เทราไท (ยังไม่ใช้) | อังเกรก (ยังไม่ใช้) |
TCWC พอร์ตมอร์สบี
[แก้]ถ้าพายุไซโคลนเขตร้อนพัฒนาขึ้นในตอนเหนือของ 11°ใต้ ระหว่าง 151°ตะวันออกถึง 160°ตะวันออก TCWC พอร์ตมอร์สบี จะเป็นผู้ประกาศใช้ชื่อพายุ โดยพายุบริเวณนี้จะก่อตัวได้ยากมากโดยครั้งล่าสุดที่มีการก่อตัวและพัฒนาของพายุคือเมื่อปี พ.ศ. 2550[2]
อาลู (ยังไม่ใช้) | บูรี (ยังไม่ใช้) | โดโด (ยังไม่ใช้) | เอเมา (ยังไม่ใช้) | เฟเร (ยังไม่ใช้) | ฮีบู (ยังไม่ใช้) | อีลา (ยังไม่ใช้) | กามา (ยังไม่ใช้) | โลบู (ยังไม่ใช้) | มาลีอา (ยังไม่ใช้) |
ศูนย์อุตุนิยมวิทยา
[แก้]ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-52 มีเพียงหนึ่งรายชื่อที่ศูนย์อุตุนิยมวิทยาเป็นผู้ประกาศใช้[1] อย่างไรก็ตามศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียยังคงทำงานอยู่ในเมืองต่างๆ คือ เพิร์ท, ดาร์วิน และบริสเบน โดยมีหน้าที่ตรวจสอบพายุไซโคลนเขตร้อนที่ก่อตัวทั้งหมดในภูมิภาคออสเตรเลีย และออกคำแนะนำพิเศษให้ทั้งพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตาหรือ TCWC พอร์ตมอร์สบี โดยชื่อต่อไปที่จะถูกใช้ต่อไปคือ มิทเชล
มิทเชล (ยังไม่ใช้) | นาเรล (ยังไม่ใช้) | ออสวาล์ด (ยังไม่ใช้) | เปตา (ยังไม่ใช้) | รูสตี้ (ยังไม่ใช้) | แซนดร้า (ยังไม่ใช้) | ทิม (ยังไม่ใช้) |
วิคตอเรีย (ยังไม่ใช้) | ซาเน (ยังไม่ใช้) | อาเลสเซีย (ยังไม่ใช้) | บรูซ (ยังไม่ใช้) | คริสเตียน (ยังไม่ใช้) | ดีลัน (ยังไม่ใช้) | เอ็ดนา (ยังไม่ใช้) |
อ้างอิง
[แก้]- ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (JTWC) เก็บถาวร 2010-03-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- ศูนย์อุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลีย (TCWC's เพิร์ท, ดาร์วิน & บริสเบน) เก็บถาวร 2009-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- ศูนย์เตือนภัยไซโคลนเขตร้อนจาการ์ตา เก็บถาวร 2008-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Tropical Cyclone Operational plan for the South Pacific & Southeast indian Ocean, 2010 Edition" (PDF). WMO. สืบค้นเมื่อ 2012-06-07.
- ↑ Gary Padgett (2008). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary October". Australian Severe Weather. สืบค้นเมื่อ 2012-07-01.[ลิงก์เสีย]