ข้ามไปเนื้อหา

ยากันชัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ยาแก้ชัก)
ยากันชัก
ระดับชั้นของยา
Class identifiers
SynonymsAntiepileptic drugs, antiseizure drugs
ใช้ในEpilepsy
ATC codeN03
Biological targetBrain
In Wikidata

แอนติอิพิเลปติก (อังกฤษ:antiepileptics) มีอีกชื่อว่า แอนติคอนวัลแซนต์ (anticonvulsants) เป็นยาต้านและป้องกันอาการชักเช่นอาการชักจากลมบ้าหมู กลไกการออกฤทธิ์คือการบล็อกโวลเตก-เซนซิตีพ โซเดียมแชแนล (voltage-sensitive sodium channel) ในสมอง

กลุ่มบาบิทเชอริท (Barbiturate)

[แก้]

บาบิทเชอริทเป็นยาที่มีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system-(CNS)) จากผลของยาที่เป็น ดีเพรสแซนต์ (depressant) และขอบเขตการออกฤทธิ์ที่กว้างจาก การสงบประสาท (sedation) ถึง ระงับความรู้สึก (anesthesia) และยังใช้เป็นยาแก้ชัก แอนตี้คอนวัลแซนต์ด้วย

บาบิทเชอริทมียาในกลุ่มดังนี้:

ตัวอย่างยาในกลุ่ม เบ็นโซไดอาเซพีนและช่วงเวลาการออกฤทธิ์ของมัน(ครึ่งชีวิต)เป็นดังนี้

กลุ่มโบรไมด์ (Bromides)

[แก้]

กลุ่มคาร์บาเมต (Carbamates)

[แก้]

กลุ่มคาร์โบซาไมด์ (Carboxamide)

[แก้]

กลุ่มกรดไขมัน (Fatty Acids)

[แก้]
  1. วัลโปรอิก แอซิด (valproic acid)
  2. โซเดียม วัลโปรเอต (sodium valproate)
  3. ไดวัลโปรเอก โซเดียม (divalproex sodium)

วิกาบาทริน และ โปรกาไบด์ เป็นอานาลอคของกาบา (GABA)

กลุ่มฟรุคโตส (Fructose Derivatives)

[แก้]

กลุ่มกาบาแอนาลอค (GABA Analogs)

[แก้]

กลุ่มไฮแดนโทอิน (Hydantoins)

[แก้]

ไฮแดนโทอิน ออกฤทธิ์ช้าไม่เหมาะที่จะใช้รักษา โรคลมชักชนิดเฉียบพลัน ไฮแดนโทอินมีสมาชิกในกลุ่มดังนี้:

ออกซาโซลิดินีไดโอนมีสมาชิกในกลุ่มดังนี้:

กลุ่มโปรพิโอเนต (Propionate)

[แก้]

กลุ่มไพริมิดีนไดโอน (Pyrimidinedione)

[แก้]

กลุ่มไพโรริโดน (Pyrrolidine)

[แก้]

กลุ่มซัคซินิไมด์ (Succinimide)

[แก้]

ซัคซินิไมด์มีสมาชิกในกลุ่มดังนี้:

กลุ่มซัลโฟนาไมด์ (Sulfonamide)

[แก้]

กลุ่มยูเรีย (Urea)

[แก้]

กลุ่มวัลโปรอิลลาไมด์ (Valproylamides)

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ^ FELBAMATE Biam
  2. ^ MEPROBAMATE เก็บถาวร 2005-11-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Biam
  3. ^ EMYLCAMATE เก็บถาวร 2022-09-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Biam
  4. ^ Green, Ben Focus on Topiramate - a new anti-epileptic Priory Lodge Education Ltd., 1997-99. Focus on Topiramate First published May 1997. Version 1.1
  5. ^ Neyens LG, Alpherts WC, Aldenkamp AP. "Cognitive effects of a new pyrrolidine derivative (levetiracetam) in patients with epilepsy." Progress in Neuro-Psychopharmacology & Biological Psychiatry. 1995 May;19(3):411-9. PMID 7624492 Elsevier Fulltext