ภาวะเสียภาษา
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ภาวะเสียการสื่อความ)
ภาวะเสียภาษา (Aphasia) | |
---|---|
![]() | |
บริเวณของสมองใหญ่ซีกซ้ายที่อาจก่อให้เกิดภาวะเสียภาษาได้เมื่อได้รับความเสียหาย[1] | |
การออกเสียง |
|
สาขาวิชา | ประสาทวิทยา, จิตเวชศาสตร์ |
การรักษา | ภาษามือ, วจีบำบัด |
ภาวะเสียภาษา[2] หรือ ภาวะเสียการสื่อความ[2] (อังกฤษ: aphasia หรือ dysphasia[a]) คือ ภาวะความบกพร่องที่ทำให้บุคคลไม่สามารถเข้าใจหรือสื่อสารด้วยภาษาได้ อันเป็นผลจากความเสียหายในบริเวณบางส่วนของสมองที่เจาะจง สาเหตุส่วนใหญ่ของภาวะดังกล่าวคือโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันและการบาดเจ็บที่ศีรษะ นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ที่พบได้น้อยกว่า เช่น เนื้องอกสมอง การติดเชื้อของสมอง หรือโรคสมองเสื่อมต่าง ๆ เป็นต้น
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ มีข้อมูลบางแหล่งระบุว่า aphasia กับ dysphasia มีความแตกต่างกันที่ระดับความรุนแรงของการสูญเสียภาษา เช่น aphasia เป็นการสูญเสียภาษาในระดับรุนแรง สูญเสียความสามารถในการพูดและการเข้าใจอย่างสมบูรณ์ ส่วน dysphasia เป็นความบกพร่องทางภาษาในระดับปานกลางเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ทั้งสองคำนี้มักพบการใช้แทนกันบ่อยครั้ง โดยหมายถึงได้ทั้งการสูญเสียภาษาแบบทั้งหมดและบางส่วน[3] ในปัจจุบันคำว่า dysphasia ถูกเลิกใช้ไปแล้วในวงการการดูแลสุขภาพ (healthcare) เนื่องจากมักสับสนกับคำว่า dysphagia (ภาวะกลืนลำบาก)[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Henseler I, Regenbrecht F, Obrig H (March 2014). "Lesion correlates of patholinguistic profiles in chronic aphasia: comparisons of syndrome-, modality- and symptom-level assessment". Brain. 137 (Pt 3): 918–930. doi:10.1093/brain/awt374. PMID 24525451.
- ↑ 2.0 2.1 สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. "ศัพท์บัญญัติ ๔๐ สาขาวิชา สำนักงานราชบัณฑิตยสภา (สืบค้นคำว่า aphasia)". สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2025.
- ↑ Carly Vandergriendt (18 กันยายน 2018). "What Is Dysphasia?". Healthline. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2025.
- ↑ Nita Crighton (13 สิงหาคม 2024). "Aphasia vs. Dysphasia: Understanding the Differences". Encompass Health. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2025.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]แหล่งข้อมูลห้องสมุดเกี่ยวกับ ภาวะเสียภาษา |
- National Aphasia Association
- ภาวะเสียภาษา ที่เว็บไซต์ Curlie
การจำแนกโรค | |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |