ข้ามไปเนื้อหา

ปวยเล้ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ผักปวยเล้ง)

ปวยเล้ง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
อาณาจักร: พืช
Plantae
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
Tracheophyta
เคลด: พืชดอก
Angiosperms
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
Eudicots
อันดับ: คาร์เนชัน
วงศ์: วงศ์บานไม่รู้โรย
สกุล: Spinacia

L.
สปีชีส์: Spinacia oleracea
ชื่อทวินาม
Spinacia oleracea
L.

ปวยเล้ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Spinacia oleracea) เป็นพืชในวงศ์บานไม่รู้โรย มีถิ่นกำเนิดในเอเชียกลาง[1] ลักษณะเป็นไม้ล้มลุกฤดูเดียว สูงได้ถึง 30 เซนติเมตร ใบออกเรียงสลับ รูปรีถึงใบหอก กว้าง 1-15 เซนติเมตร ยาว 2-30 เซนติเมตร ดอกสีเหลืองเขียว เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มิลลิเมตร ผลขนาด 5-10 มิลลิเมตร ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก[2]

อนึ่ง ปวยเล้ง (spinach) เป็นผักที่ป๊อปอายใช้กินเพิ่มพลัง ไม่ใช่ผักโขม (amaranth) อย่างที่เข้าใจกัน[3][4]

คุณค่าทางอาหาร

[แก้]
ปวยเล้ง (สด)
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน97 กิโลจูล (23 กิโลแคลอรี)
3.6 g
น้ำตาล0.4 g
ใยอาหาร2.2 g
0.4 g
2.9 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(59%)
469 μg
(52%)
5626 μg
12198 μg
วิตามินเอ9377 IU
ไทอามีน (บี1)
(7%)
0.078 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(16%)
0.189 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(5%)
0.724 มก.
วิตามินบี6
(15%)
0.195 มก.
โฟเลต (บี9)
(49%)
194 μg
วิตามินซี
(34%)
28 มก.
วิตามินอี
(13%)
2 มก.
วิตามินเค
(460%)
483 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(10%)
99 มก.
เหล็ก
(21%)
2.71 มก.
แมกนีเซียม
(22%)
79 มก.
แมงกานีส
(43%)
0.897 มก.
ฟอสฟอรัส
(7%)
49 มก.
โพแทสเซียม
(12%)
558 มก.
โซเดียม
(5%)
79 มก.
สังกะสี
(6%)
0.53 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ91.4 g

ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

ปวยเล้งสดประกอบด้วยน้ำ 91%, คาร์โบไฮเดรต 4%, โปรตีน 3% และไขมันเล็กน้อย ปวยเล้ง 100 กรัมให้พลังงาน 23 แคลอรี อุดมไปด้วยวิตามินเอ, วิตามินซี, วิตามินเค, แมงกานีส, เหล็ก และแคลเซียม[5] อย่างไรก็ตาม ควรปรุงปวยเล้งให้สุกเนื่องจากในปวยเล้งมีสารออกซาเลต ซึ่งก่อให้เกิดนิ่วและเพิ่มระดับกรดยูริกในผู้ป่วยโรคเกาต์[6][7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Spinacia oleracea L. - Plants of the World Online". Kew Science. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
  2. "ปวยเหล็ง". องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูง. January 13, 2016. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
  3. ""ปวยเล้ง" ผักเพิ่มพลังของป๊อบอาย". Manager Online. October 14, 2008. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
  4. ""ปวยเล้ง" ผักดีมีประโยชน์ แต่มีอันตรายแอบแฝง". Sanook. January 18, 2018. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
  5. "Spinach, raw: nutritional value and analysis". Nutritional Value. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
  6. "5 steps for preventing kidney stones - Harvard Health Blog". Harvard University. October 4, 2013. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.
  7. "Gout diet: What's allowed, what's not". Mayo Clinic. May 18, 2018. สืบค้นเมื่อ April 3, 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ปวยเล้ง ที่วิกิสปีชีส์
  • ปวยเล้ง ที่วิกิตำรา-ตำราอาหาร