สนามกีฬานานาชาติบัสรา
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก บาสราสปอร์ตซิตี)
اِسْتَاد الْبَصْرَة الدُّؤَلِيّ (ในภาษาอาหรับ) | |
ملعب جذع النخلة | |
ชื่อเต็ม | สนามกีฬานานาชาติบัสรา |
---|---|
ที่ตั้ง | บัสรา ประเทศอิรัก |
เจ้าของ | รัฐบาลอิรัก |
ความจุ | 65,227 ที่นั่ง[1] |
พื้นที่ | 2,770,000 GSF |
พื้นผิว | Track & Field (หญ้า) |
การก่อสร้าง | |
ลงเสาเข็ม | 1 มกราคม ค.ศ. 2009 |
ก่อสร้าง | ค.ศ. 2009–2013 |
เปิดใช้สนาม | 12 ตุลาคม ค.ศ. 2013 |
งบประมาณในการก่อสร้าง | 550 ล้านปอนด์ |
สถาปนิก | ทรีซิกซ์ตีอาร์คิเทกเจอร์และนิวพอร์ตโกลบอล |
ผู้จัดการโครงการ | นิวพอร์ตโกลบอล |
วิศวกรโครงสร้าง | ทอร์นตัน โทมาเซตตี |
วิศวกรบริการ | อับดุลลอฮ์ อัลญะบูรี |
ผู้รับเหมาหลัก | อับดุลลอฮ์ อัลญะบูรี |
การใช้งาน | |
ฟุตบอลทีมชาติอิรัก สโมสรกีฬาอัลมีนาอ์ สโมสรกีฬานัฟฏุลบัสเราะฮ์ |
สนามกีฬานานาชาติบัสรา (อาหรับ: مدينة البصرة الرياضية; อังกฤษ: Basra International Stadium) เป็นศูนย์กีฬาขนาดใหญ่ในเมืองบัสรา ทางตอนใต้ของประเทศอิรัก
ภาพรวม
[แก้]การก่อสร้างเริ่มขึ้นในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2009 และแล้วเสร็จในวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2013 ใช้งบประมาณในการก่อสร้างจากรัฐบาลอิรักประมาณ 550 ล้านดอลลาร์ โดยสนามหลักมีความจุ 65,000 ที่นั่ง สนามรองมีความจุ 10,000 ที่นั่ง สิ่งอำนวยความสะดวก อาทิ โรงแรมห้าดาว 4 แห่ง และสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวกับกีฬาอื่น ๆ[2][3]
มีการให้สัญญาโครงการก่อสร้างนี้กับอับดุลลอฮ์ อัลญะบูรี ผู้รับเหมาก่อสร้างรายใหญ่ของอิรัก และทรีซิกซ์ตีอาร์คิเทกเจอร์ (360 architecture) กับนิวพอร์ตโกลบอล บริษัทสัญชาติอเมริกันสองแห่ง [4]
สมุดภาพ
[แก้]-
พิธีเปิดการแข่งขันระหว่างทีมซะมาลิก พบ อัซเซารออ์
-
ช่วงพักครึ่งการแข่งขัน ทีมซะมาลิก พบ อัซเซารออ์
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Basrah International Stadium gpsmartstadium.com.
- ↑ "Building 4 Olympic stadiums in Iraq". Al-Arabiya. 27 May 2012.
- ↑ Andrew S. Ross (2009-11-12). "S.F. firm to help design Basra soccer stadium". SFGate. สืบค้นเมื่อ 2020-05-25.
- ↑ Muret, Don (2 February 2009). "360 Architecture sees an opportunity in Iraq". www.sportsbusinessdaily.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-05-25.