ตึกไครส์เลอร์
ตึกไครส์เลอร์ | |
---|---|
Chrysler Building | |
ตึกไครส์เลอร์ในเดือนพฤษภาคม 2009 | |
สถิติความสูง | |
เป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในโลก ตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 1930[1][2] ถึง 1 พฤษภาคม 1931[3][I] | |
ก่อนหน้านี้ | 40 วอลล์สตรีต (40 Wall street) |
หลังจากนี้ | ตึกเอ็มไพร์สเตต (Empire State Building) |
ข้อมูลทั่วไป | |
ประเภท | สำนักงาน |
สถาปัตยกรรม | อลังการศิลป์ (Art Deco) |
ที่ตั้ง | เลขที่ 405 ถนนเลกซิงตัน, แมนแฮตตัน, นครนิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา 10174 |
พิกัด | 40°45′06″N 73°58′31″W / 40.75167°N 73.97528°W |
แล้วเสร็จ | 27 พฤษภาคม 1930[1][2] |
เจ้าของ | ที่ดิน: คูเปอร์ยูเนี่ยน ตัวอาคาร: ซิกนา กรุป และ อาร์เอฟอาร์ โฮลดิ้ง แอลแอลซี[6] |
ความสูง | |
เสาอากาศ | 1,046 ฟุต (319 เมตร)[4] |
หลังคา | 925 ฟุต (282 เมตร) |
ชั้นบนสุด | 899 ฟุต (274 เมตร)[4] |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
จำนวนชั้น | 77[4][5] |
พื้นที่แต่ละชั้น | 1,196,958 ตารางฟุต (111,201 ตารางเมตร)[4] |
ลิฟต์ | 32[4] |
การออกแบบและการก่อสร้าง | |
สถาปนิก | วิลเลียม แวน อเล็น |
วิศวกรโครงสร้าง | ราล์ฟ สไควร์ และลูกชาย |
ผู้รับเหมาก่อสร้าง | เฟรด ที เลย์ แอนด์ โค (Fred T Ley & Co) |
ขึ้นเมื่อ | 8 ธันวาคม 1976[8] |
เลขอ้างอิง | 76001237 |
ขึ้นเมื่อ | 8 ธันวาคม 1976[9] |
เลขอ้างอิง | 76001237 |
อ้างอิง | |
[4][7] |
ตึกไครส์เลอร์ (อังกฤษ: Chrysler Building) เป็นตึกระฟ้าสถาปัตยกรรมอลังการศิลป์ (Art Deco) ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของเกาะแมนแฮตตัน ในนครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา บริเวณจุตตัดของถนนที่ 42 (42nd Street) และถนนเลกซิงตัน (Lexington Avenue) ในมิดทาวน์แมนฮัตตัน ด้วยความสูง 1,046 ฟุต (319 เมตร) ทำให้ตึกนี้เป็นอาคารอิฐที่มีโครงสร้างเป็นเหล็กที่สูงที่สุดในโลก และเป็นอาคารที่สูงที่สุดในโลกนาน 11 เดือนหลังจากสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1930[13][14] ในปี ค.ศ. 2019 ตึกไครส์เลอร์เป็นอาคารที่สูงที่สุดอันดับที่ 12 ในนครนิวยอร์กรองจากตึกนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times Building)[15]
เดิมตึกไครส์เลอร์เป็นโครงการของ วิลเลียม เอช. เรย์โนลด์ส (William H. Reynolds) ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และอดีตสมาชิกวุฒิสภารัฐนิวยอร์ก และก่อสร้างโดยวอลเตอร์ ไครส์เลอร์ (Water Chrysler) ประธานบริษัทไครส์เลอร์ คอร์ปอเรชั่น (Chrysler Corporation)
ตึกไครส์เลอร์เคยเป็นอาคารสูงที่สุดในโลกนาน 11 เดือน นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1930 ก่อนที่จะถูกล้มตำแหน่งโดยตึกเอ็มไพร์สเตต (Empire State Building) ที่สร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1931
ตึกไครส์เลอร์เป็นตัวอย่างที่คลาสสิกของสถาปัตยกรรมอลังการศิลป์ (Art Deco) ออกแบบโดยสถาปนิกชื่อ วิลเลียม แวน อเล็น (William Van Alen) และผ่านการพิจารณาโดยสถาปนิกร่วมสมัยว่าเป็นหนึ่งในอาคารที่ดีที่สุดในนครนิวยอร์ก ในปี 2007
แกลเลอรี
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Landmarks Preservation Commission 1978, p. 2.
- ↑ 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อNYT-Chrysler-Open-1930
- ↑ Tauranac 2014, pp. 227–228.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 "ตึกไครส์เลอร์". CTBUH Skyscraper Center.
- ↑ Nash & McGrath 1999, p. 63.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อsigna
- ↑ "Emporis building ID 114867". Emporis. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 24, 2015.
- ↑ "Chrysler Building". National Historic Landmark summary listing. National Park Service. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 5, 2012. สืบค้นเมื่อ April 20, 2012.
- ↑ "National Register Information System". National Register of Historic Places. National Park Service. January 23, 2007.
- ↑ "Cultural Resource Information System (CRIS)". New York State Office of Parks, Recreation and Historic Preservation. November 7, 2014. สืบค้นเมื่อ July 20, 2023.
- ↑ 11.0 11.1 Landmarks Preservation Commission 1978, p. 1.
- ↑ 12.0 12.1 Landmarks Preservation Commission Interior 1978, p. 1.
- ↑ "Chrysler Building". สภาตึกสูงและที่อยู่อาศัยในเมือง (CTBUH).
- ↑ "The History of Measuring Tall Buildings". สภาตึกสูงและที่อยู่อาศัยในเมือง. เก็บถาวรจากต้นฉบับเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2012. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2012.
- ↑ "The 11 tallest buildings in New York City right now, ranked". บิสเนสอินไซเดอร์. 18 กันยายน 2019 สืบค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]ก่อนหน้า | ตึกไครส์เลอร์ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
40 วอลล์สตรีต | ตึกที่สูงที่สุดในโลก (ค.ศ. 1930 — ค.ศ. 1931) |
ตึกเอ็มไพร์สเตต |
40°45′06″N 73°58′31″W / 40.7517°N 73.9753°W{{#coordinates:}}: ไม่สามารถมีป้ายกำกับหลักมากกว่าหนึ่งป้ายต่อหน้าได้