โรงเรียนอนุบาล
มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงมุมมองที่เป็นสากลของเรื่อง |
บทความนี้ต้องการข้อความอธิบายความสำคัญที่กระชับ และสรุปเนื้อหาไว้ย่อหน้าแรกของบทความ |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า จัดหมวดหมู่ ใส่ลิงก์ภายใน หรือเก็บกวาดเนื้อหา ให้มีคุณภาพดีขึ้น คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้ป้ายข้อความอื่นเพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
อนุบาล(ย่อมาจาก อ. ; อังกฤษ: kindergarten , pre-elementary school) เป็นลำดับการศึกษา ขั้นแรก[1][2]
ประวัติการก่อเกิดโรงเรียนอนุบาลในตะวันตก เฟร็ดริค โฟรเบล ชาวเยอรมัน(พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2395) เปิดสถาบันสำหรับการเล่นและกิจกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2380 ในหมู่บ้านของเขา เพื่อเป็นการทดลองทางสังคมในการให้ประสบการณ์แก่เด็กเล็กเข้าโรงเรียน เขาเปลี่ยนชื่อสถาบันเป็น "คินเดอร์การ์เด็น" ซื่งมีความหมายว่าสวนสำหรับเด็ก[3] เพื่อเป็นการสะท้อนความเชื่อของเขาเกี่ยวกับการที่เด็กควรได้รับการบำรุงเลี้ยงเหมือน ‘ดั่งต้นพืชในสวน’
ประเทศต่าง ๆ
[แก้]มาเลเซีย
[แก้]โรงเรียนตาดีกา (มลายู: Tadika, เป็นคำย่อจากภาษามลายู tama didikkan kanak kanak) หมายถึง สถานที่อบรมเด็กเล็ก สอนเฉพาะวิชาทางศาสนา หนังสือเรียนส่วนใหญ่เป็นภาษามลายูยกเว้นวิชาภาษาอาหรับจะใช้หนังสือภาษาอาหรับ ภาษามลายูที่ใช้เป็นภาษามลายูปัตตานีมากกว่าภาษามลายูมาตรฐาน หลักสูตรที่สอนเป็นวิชาอิสลามศึกษาระดับพื้นฐาน จากการสำรวจในพ.ศ. 2547 มีโรงเรียนตาดีกา 1,343 แห่ง และศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิด 88 แห่งในจังหวัดชายแดนภาคใต้[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "การศึกษาระดับปฐมวัยสำคัญอย่างไร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-15. สืบค้นเมื่อ 2015-08-22.
- ↑ การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย.....
- ↑ Puckett, Margaret B.; Diffily, Deborah (2004). Teaching Young Children: An Introduction to the Early Childhood Profession (2nd ed.). Clifton Park, NY: Delmar Learning. pp. 45–46.
- ↑ อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต. การศึกษาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารอินโดจีนศึกษา ฉบับวิกฤติไฟใต้. 7(1): 56-86. 2549