ข้ามไปเนื้อหา

ดาโฟส

พิกัด: 46°48′N 9°50′E / 46.800°N 9.833°E / 46.800; 9.833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ดาวอส)
ดาโฟส
บน: ทัสนียภาพของหุบเขาแซร์ทิช, กลางซ้าย: ศูนย์ประชุมสภาเศรษฐกิจโลก, กลางขวา: ทะเลสาบดาโฟส, ล่าง: ทัศนียภาพของดาโฟส
บน: ทัสนียภาพของหุบเขาแซร์ทิช, กลางซ้าย: ศูนย์ประชุมสภาเศรษฐกิจโลก, กลางขวา: ทะเลสาบดาโฟส, ล่าง: ทัศนียภาพของดาโฟส
ตราราชการของดาโฟส
ตราอาร์ม
ดาโฟสตั้งอยู่ในสวิตเซอร์แลนด์
ดาโฟส
ดาโฟส
ที่ตั้งของดาโฟส
พิกัด: 46°48′N 9°50′E / 46.800°N 9.833°E / 46.800; 9.833
ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์
รัฐเกราบึนเดิน
เขตเพร็ททีเกา/ดาโฟส
การปกครอง
 • ผู้บริหารKleiner Landrat
สมาชิก 5 คน
 • นายกเทศมนตรีLandammann  (รายชื่อ)
Tarzisius Caviezel
(ตั้งแต่ มีนาคม 2557)
 • สภาGrosser Landrat
สมาชิก 17 คน
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด283.99 ตร.กม. (109.65 ตร.ไมล์)
ความสูง1,560 เมตร (5,120 ฟุต)
ประชากร
 (ธ.ค. 2014[2])
 • ทั้งหมด11,136 คน
 • ความหนาแน่น39 คน/ตร.กม. (100 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์7260 Davos-Dorf
7270 Davos-Platz
เลข SFOS3851
เมืองแฝดแอสแพน (สหรัฐ), ซานาดะ (ญี่ปุ่น), ชามอนี (ฝรั่งเศส)
เว็บไซต์gemeindedavos.ch

ดาโฟส (เยอรมัน: Davos)[3] หรือ ตาเวา (รูมันช์: Tavau) เป็นเทศบาลในรัฐเกราบึนเดิน ทางภาคตะวันออกของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ด้วยความสูงกว่า 1,560 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลทำให้ดาโฟสเป็นเมืองที่อยู่สูงที่สุดในยุโรป[4] มีประชากรถาวรราว 11,136 คน (ค.ศ. 2014) ดาโฟสเป็นสถานที่จัดประชุมสภาเศรษฐกิจโลก ซึ่งจัดการประชุมขึ้นทุก ๆ ปี และยังเป็นหนึ่งในแหล่งสถานตากอากาศสกีที่ใหญ่ที่สุดในสวิตเซอร์แลนด์

ภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของดาโฟส (1981–2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) -0.2
(31.6)
0.9
(33.6)
3.8
(38.8)
7.2
(45)
12.4
(54.3)
15.5
(59.9)
18.1
(64.6)
17.3
(63.1)
14.1
(57.4)
10.9
(51.6)
4.2
(39.6)
0.4
(32.7)
8.7
(47.7)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -4.9
(23.2)
-4.8
(23.4)
-1.3
(29.7)
2.2
(36)
7.1
(44.8)
10.2
(50.4)
12.4
(54.3)
11.9
(53.4)
8.6
(47.5)
5.1
(41.2)
-0.7
(30.7)
-3.8
(25.2)
3.5
(38.3)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -9.1
(15.6)
-9.3
(15.3)
-5.9
(21.4)
-2.4
(27.7)
2.1
(35.8)
5.1
(41.2)
7.2
(45)
7.2
(45)
4.0
(39.2)
0.8
(33.4)
-4.4
(24.1)
-7.5
(18.5)
−1.0
(30.2)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 66
(2.6)
56
(2.2)
59
(2.32)
56
(2.2)
88
(3.46)
126
(4.96)
136
(5.35)
148
(5.83)
93
(3.66)
61
(2.4)
72
(2.83)
62
(2.44)
1,022
(40.24)
ปริมาณหิมะ ซม (นิ้ว) 95.2
(37.48)
80.5
(31.69)
65.5
(25.79)
51.2
(20.16)
13.8
(5.43)
3.7
(1.46)
0.4
(0.16)
1.0
(0.39)
4.0
(1.57)
15.4
(6.06)
62.0
(24.41)
75.3
(29.65)
468.0
(184.25)
ความชื้นร้อยละ 75 72 71 70 71 73 73 76 77 74 77 78 74
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 8.8 7.6 9.7 9.6 11.9 13.6 13.2 13.5 9.9 8.0 9.4 9.5 124.7
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 cm) 11.3 10.5 11.0 8.5 2.3 0.7 0.1 0.2 0.8 3.0 9.3 11.3 69.0
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 111 121 144 138 151 162 187 175 159 149 104 93 1,696
แหล่งที่มา: MeteoSwiss [5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Arealstatistik Standard - Gemeindedaten nach 4 Hauptbereichen
  2. Swiss Federal Statistics Office – STAT-TAB Ständige und Nichtständige Wohnbevölkerung nach Region, Geschlecht, Nationalität und Alter (เยอรมัน) accessed 31 August 2015
  3. Boesch, Bruno, บ.ก. (1957), Die Aussprache des Hochdeutschen in der Schweiz. Eine Wegleitung, Zürich: Schweizer Spiegel Verlag, p. 36
  4. Bestmountaintowns.com เก็บถาวร 2014-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Retrieved on 2010-01-27
  5. "Climate Normals Davos 1981–2010" (PDF). Climate diagrams and normals from Swiss measuring stations. Federal Office of Meteorology and Climatology (MeteoSwiss). สืบค้นเมื่อ 21 January 2013.[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]