วอลเลย์บอล ซี วี.ลีก
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:![]() | |
![]() | |
กีฬา | วอลเลย์บอล |
---|---|
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2560 |
ฤดูกาลแรก | 2023 (ชาย) 2019 (หญิง) |
จำนวนทีม | 4 |
ประเทศ | ![]() ![]() ![]() ![]() |
ทวีป | เอวีซี (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ชาย: ![]() หญิง: ![]() |
ทีมชนะเลิศสูงสุด | ชาย: ![]() หญิง: ![]() |
หุ้นส่วนโทรทัศน์ | ช่องวัน 31 (ไทย) GMM 25 (ไทย) |
เว็บไซต์ | ซี วี.ลีก |
วอลเลย์บอลลีกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อังกฤษ: Southeast Asian Volleyball League) หรือที่รู้จักในชื่อ ซี วี.ลีก (อังกฤษ: SEA V.League) (หรือชื่อเดิมคือ อาเซียนกรังด์ปรีซ์ (อังกฤษ: ASEAN Grand Prix)) เป็นรายการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย 4 ทีมจากประเทศสมาชิกสมาคมวอลเลย์บอลแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SAVA) หน่วยงานกำกับดูแลกีฬาระดับภูมิภาคในสังกัดสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (AVC) ได้แก่ประเทศไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ โดยทีมที่ได้อันดับสุดท้ายใน SEA V.League จะตกชั้นไปเล่นในรายการ SEA V.League Challenge ในปีถัดไป และทีมแชมป์ใน SEA V.League Challenge จะได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นใน SEA V.League แทน
ประวัติ
[แก้]แผนการจัดลีกวอลเลย์บอลหญิงระดับภูมิภาคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีขึ้นครั้งแรกในปี 2013 เมื่อชาญฤทธิ์ วงษ์ประเสริฐ เลขาธิการสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชียจากประเทศไทย ได้พบกับเจ้าหน้าที่ของบรรษัทกีฬาวอลเลย์บอลฟิลิปปินส์ (Larong Volleyball sa Pilipinas) ซึ่งเป็นสมาคมวอลเลย์บอลแห่งชาติของฟิลิปปินส์ในขณะนั้น และได้รับการเสนอให้ใช้รูปแบบลีกเหย้าและเยือนเพื่อส่งเสริมวอลเลย์บอลหญิงในภูมิภาค[1]
มีรายงานว่าบริษัทจัดงานและให้คำปรึกษาสปอร์ตคอร์ (SportsCore Event Management and Consultancy, Inc.) ผู้จัดการแข่งขันฟิลิปปินส์ซูเปอร์ลีกา ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในฟิลิปปินส์ พร้อมกับสโมสรลีกจากอินโดนีเซีย, ไทย และเวียดนาม ต่างสนับสนุนแผนการดังกล่าว โดยในเดือนกรกฎาคม 2015 เหลือเพียง "การตกลงขั้นสุดท้าย" ที่ยังไม่ได้ทำ ซึ่งรวมถึงกลไกและชื่ออย่างเป็นทางการของการแข่งขัน
ในเดือนธันวาคม 2016 มีรายงานว่าการแข่งขันนัดแรกได้รับการขนานนามว่าเป็น ซูเปอร์ลีกาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian SuperLiga) ซึ่งมีแผนจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 - 17 กันยายน 2017[2] แต่ในเดือนมกราคม 2017 มีรายงานว่าชื่อการแข่งขันเปลี่ยนเป็น อาเซียนกรังด์ปรีซ์ (ASEAN Grand Prix)[3]
อาเซียนกรังด์ปรีซ์จัดขึ้นครั้งแรกในปี 2019 โดยจัดแยกกัน 2 ทัวร์นาเมนต์ ที่ประเทศไทยและฟิลิปปินส์ โดยประเทศไทย เป็นผู้ชนะในการแข่งขันทั้งสองรายการ [4] [5]
รายการนี้กลับมาอีกครั้งในปี 2022 ในชื่อ อาเซียนกรังด์ปรีซ์ วูเมนส์ วอลเลย์บอล อินวิเตชั่น (ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation) โดยมีกำหนดการแข่งขันในประเทศไทย ส่วนการแข่งขันประเภททีมชายมีกำหนดจัดขึ้นในอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ[6] ไทย ป้องกันแชมป์อาเซียนกรังด์ปรีซ์ได้ หลังจากชนะสามทีมในการแข่งขันปี 2022
ตั้งแต่ปี 2023 การแข่งขันได้เปลี่ยนชื่อเป็น วอลเลย์บอลลีกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Volleyball League) หรือ ซี วี.ลีก (SEA V.League) และเปิดตัวการแข่งขันของทีมชายเป็นครั้งแรกในปีเดียวกัน[7]
ในปี 2024 ทีมชาย ได้มีการจัดการแข่งขัน วอลเลย์บอล ซี วี.ลีก แชลเลนจ์ โดยทีมที่ได้แชมป์จาก ซี วี.ลีก แชลเลนจ์ จะได้เลื่อนชั้นขึ้นไปเล่นใน ซี วี.ลีก ในปีถัดไปแทนที่ทีมที่ได้อันดับสุดท้ายใน ซี วี.ลีก ที่ตกชั้นไปเล่นใน ซี วี.ลีก แชลเลนจ์ [8][9]
ผลการแข่งขัน
[แก้]การแข่งขันชาย
[แก้]ปี | สนาม | เจ้าภาพ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 4 | |||
2023 | สนามที่ 1 | ![]() โบโกร์ |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ไทย |
![]() เวียดนาม |
![]() ฟิลิปปินส์ |
สนามที่ 2 | ![]() ซันตาโรซา |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() เวียดนาม |
![]() ไทย |
![]() ฟิลิปปินส์ | |
2024 | สนามที่ 1 | ![]() มะนิลา |
![]() ไทย |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ฟิลิปปินส์ |
![]() เวียดนาม |
สนามที่ 2 | ![]() จาการ์ตา |
![]() ไทย |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ฟิลิปปินส์ |
![]() เวียดนาม |
การแข่งขันหญิง
[แก้]ปี | สนาม | เจ้าภาพ | ||||
---|---|---|---|---|---|---|
ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 4 | |||
2019 | สนามที่ 1 | ![]() นครราชสีมา |
![]() ไทย |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ฟิลิปปินส์ |
![]() เวียดนาม |
สนามที่ 2 | ![]() ซันตาโรซา |
![]() ไทย |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ฟิลิปปินส์ |
![]() เวียดนาม | |
2022 | –
|
![]() นครราชสีมา |
![]() ไทย |
![]() เวียดนาม |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ฟิลิปปินส์ |
2023 | สนามที่ 1 | ![]() หวิญฟุก |
![]() ไทย |
![]() เวียดนาม |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ฟิลิปปินส์ |
สนามที่ 2 | ![]() เชียงใหม่ |
![]() ไทย |
![]() เวียดนาม |
![]() อินโดนีเซีย |
![]() ฟิลิปปินส์ | |
2024 | สนามที่ 1 | ![]() หวิญฟุก |
![]() ไทย |
![]() เวียดนาม |
![]() ฟิลิปปินส์ |
![]() อินโดนีเซีย |
สนามที่ 2 | ![]() นครราชสีมา |
![]() ไทย |
![]() เวียดนาม |
![]() ฟิลิปปินส์ |
![]() อินโดนีเซีย |
ประเทศที่เข้าร่วม
[แก้]การแข่งขันชาย
[แก้]ประเทศ | 2023 | 2024 | ทั้งหมด | ||
---|---|---|---|---|---|
4 | ![]() สนามที่ 1 |
![]() สนามที่ 2 |
![]() สนามที่ 1 |
![]() สนามที่ 2 | |
![]() |
อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 2 | 4 |
![]() |
อันดับที่ 4 | อันดับที่ 4 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 3 | 4 |
![]() |
อันดับที่ 2 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | 4 |
![]() |
อันดับที่ 3 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 4 | อันดับที่ 4 | 4 |
การแข่งขันหญิง
[แก้]ประเทศ | 2019 | 2022 | 2023 | 2024 | ทั้งหมด | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
4 | ![]() สนามที่ 1 |
![]() สนามที่ 2 |
![]() |
![]() สนามที่ 1 |
![]() สนามที่ 2 |
![]() สนามที่ 1 |
![]() สนามที่ 2 | |
![]() อินโดนีเซีย |
อันดับที่ 2 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 4 | อันดับที่ 4 | 7 |
![]() ฟิลิปปินส์ |
อันดับที่ 3 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 4 | อันดับที่ 4 | อันดับที่ 4 | อันดับที่ 3 | อันดับที่ 3 | 7 |
![]() ไทย |
อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | อันดับที่ 1 | 7 |
![]() เวียดนาม |
อันดับที่ 4 | อันดับที่ 4 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 2 | 7 |
ทีมเริ่มต้น
[แก้]
การแข่งขันชาย[แก้]
การแข่งขันหญิง[แก้]
|
ทีมที่ผ่านการคัดเลือกเข้ามาเล่นใน ซี วี.ลีก
[แก้]ทีมชาย
ปี | ทีมที่ตกชั้น | ทีมที่ยังคงอยู่ใน ซี วี.ลีก | แชมป์ ซี วี.ลีก แชลเลนจ์ | |||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
2023 | — | ![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
![]() ![]() |
— | ||
2024 | ![]() ![]() |
3 ทีมยังคงอยู่ อีก 1 ทีม ตกชั้น | ![]() ![]() |
รางวัล
[แก้]การแข่งขันชาย
[แก้]ปี | สนาม | ผู้เล่นทรงคุณค่า | ตัวเซ็ตยอดเยี่ยม | ตัวตบด้านนอกยอดเยี่ยม | ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยม | ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยม | ตัวรับอิสระยอดเยี่ยม | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
2023 | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() | ||||
2024 | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
การแข่งขันหญิง
[แก้]ปี | สนาม | ผู้เล่นทรงคุณค่า | ตัวตบยอดเยี่ยม | ตัวเซิร์ฟยอดเยี่ยม | ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยม | ตัวเซ็ตยอดเยี่ยม | ตัวรับอิสระยอดเยี่ยม |
---|---|---|---|---|---|---|---|
2019 | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
2020 งดจัดการแข่งขันเนื่องจากสถานะการโควิด19
2021 งดจัดการแข่งขันเนื่องจากสถานะการโควิด19
ปี | สนาม | ผู้เล่นทรงคุณค่า | ตัวเซ็ตยอดเยี่ยม | ตัวตบด้านนอกยอดเยี่ยม | ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยม | ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยม | ตัวรับอิสระยอดเยี่ยม | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
2022 | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
2023 | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() | |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() | ||
2024 | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() | ||
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
สรุปเหรียญรางวัล
[แก้]การแข่งขันชาย
[แก้]ลำดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() | 2 | 2 | 0 | 4 |
2 | ![]() | 2 | 1 | 1 | 4 |
3 | ![]() | 0 | 1 | 1 | 2 |
4 | ![]() | 0 | 0 | 2 | 2 |
รวม (4 ประเทศ) | 4 | 4 | 4 | 12 |
การแข่งขันหญิง
[แก้]ลำดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() | 7 | 0 | 0 | 7 |
2 | ![]() | 0 | 5 | 0 | 5 |
3 | ![]() | 0 | 2 | 3 | 5 |
4 | ![]() | 0 | 0 | 4 | 4 |
รวม (4 ประเทศ) | 7 | 7 | 7 | 21 |
สรุปเหรียญโดยรวม
[แก้]ลำดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() | 9 | 1 | 1 | 11 |
2 | ![]() | 2 | 4 | 3 | 9 |
3 | ![]() | 0 | 6 | 1 | 7 |
4 | ![]() | 0 | 0 | 6 | 6 |
รวม (4 ประเทศ) | 11 | 11 | 11 | 33 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Manicad, Julius (21 March 2016). "Southeast Asian club league in the pipeline". Volleyverse. สืบค้นเมื่อ 26 December 2016.
- ↑ Noguera, Emil (26 December 2016). "PH Superliga braces for busy 2017". The Manila Times. สืบค้นเมื่อ 26 December 2016.
- ↑ Reyes, Marc Anthony (5 January 2017). "PSL serves up Asean Grand Prix this September". Philippine Daily Inquirer. สืบค้นเมื่อ 5 January 2017.
- ↑ "All set for SAT Thailand Volleyball Invitation in Nakhon Ratchasima". Asian Volleyball Confederation. Preechachan. 19 September 2019. สืบค้นเมื่อ 11 September 2022.
- ↑ "Thailand Capture Back-to-back Asean Grand Prix Titles". Asian Volleyball Confederation. Preechachan. 7 October 2019. สืบค้นเมื่อ 11 September 2022.
- ↑ "Thailand, Vietnam to Fight it Out in Highly-Anticipated Clash For Eventual Title in 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation". Asian Volleyball Confederation. 7 September 2022. สืบค้นเมื่อ 11 September 2022.
- ↑ Bas (2023-02-20). "ไทยเจ้าภาพทีมหญิง! อาเซียน กรังด์ปรีซ์ เปลี่ยนชื่อเป็น "ซี วี.ลีก" ตบสนั่น ส.ค.นี้". Thaiger ข่าวไทย. สืบค้นเมื่อ 2023-06-26.
- ↑ Phạm Phương (2024-04-08). "Giải bóng chuyền SEA V.League chốt thời điểm trở lại Việt Nam, thêm 4 nước Đông Nam Á gia nhập". webthethao.com.vn (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ 2024-05-09.
- ↑ Phạm Phương (2024-04-19). "Mở màn giải bóng chuyền SEA V.League 2024 tại Quảng Ninh". webthethao.com.vn (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ 2024-05-23.