คริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับ
คริสต์ศาสนิกชนในประเทศซีเรีย, จอร์แดน, เลบานอน, อิสราเอล, ปาเลสไตน์ และอียิปต์ | |
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
---|---|
อียิปต์ | 8,250,000[1]–9,000,000[2] (รวมคอปต์)[3] |
ซีเรีย | 520,000[1]–1,650,000[4] |
เลบานอน | 1,050,000[1]–1,600,000[5] (รวมมาโรไนต์)[6] |
จอร์แดน | 221,000[7] |
อิสราเอล | 177,000[8] (รวมชาวแอราเมียน) |
อิรัก | 151,047 [9] (รวมชาวอัสซีเรีย)[10] |
รัฐปาเลสไตน์ | 38,000 [11]–50,000[12] |
ตุรกี | 18,000[13] |
โมร็อกโก | 8,000[14]–40,000[15] (รวมชนเบอร์เบอร์) |
ภาษา | |
อาหรับ, ฮีบรู (ในประเทศอิสราเอล), ฝรั่งเศส (ในประเทศเลบานอนกับผู้พลัดถิ่น), อังกฤษ, สเปน และโปรตุเกส (ผู้พลัดถิ่น) | |
ศาสนา | |
ศาสนาคริสต์: โรมันคาทอลิก (คาทอลิกตะวันออก; ลาติน) อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ (แอนติออก, เยรูซาเลม, อเล็กซานเดรีย) โปรเตสแตนต์ |
คริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับ (อาหรับ: ﺍﻟﻤﺴﻴﺤﻴﻮﻥ ﺍﻟﻌﺮﺏ อัลมะซีฮียูน อัลอะร็อบ) เป็นชาวอาหรับที่นับถือศาสนาคริสต์[16] บางส่วนสืบเชื้อสายมาจากเผ่าอาหรับคริสเตียนโบราณที่ไม่ได้เข้ารีตเป็นอิสลาม มีการประเมินว่าคริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับมีจำนวนประมาณ 520,000–1,650,000 คนอาศัยอยู่ในประเทศซีเรีย[1][17] 1,050,000–1,650,000 คน (รวมมาโรไนต์[18]) ในประเทศเลบานอน[19] 221,000 คนในประเทศจอร์แดน[7] 8–9,000,000 คน (รวมคอปต์[20]) ในประเทศอียิปต์[21] ในประเทศอิสราเอล 134,130 คน และในปาเลสไตน์ 50,000 คน
ผู้ย้ายถิ่นจากสังคมอาหรับหรือคริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับพลัดถิ่นมาจากตะวันออกกลาง โดยอาศัยอยู่ทั่วทวีปอเมริกา โดยเฉพาะในประเทศอาร์เจนตินา, ประเทศบราซิล, ประเทศชิลี, ประเทศเม็กซิโก, ประเทศเวเนซุเอลา, ประเทศโคลอมเบีย และสหรัฐ อย่างไรก็ตาม ผู้ย้ายถิ่นในอเมริกา โดยเฉพาะกลุ่มแรก ๆ ไม่สามารถพูดภาษาอาหรับหรือมีเอกลักษณ์ความเป็นอาหรับอยู่เลย[22]
เผ่าอาหรับแรกที่นับถือศาสนาคริสต์น่าจะเป็นราชอาณาจักรแนบาเทียและฆ็อสซานิด ในช่วงศตวรรษที่ 5 - 6 พวกฆ็อสซานิดได้เป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิไบแซนไทน์ กลายเป็นกันชนต่อชนเผ่าอาหรับนอกศาสนาในอาระเบีย อันนุอ์มานที่ 3 อิบน์ อัลมุนซิร กษัตริย์องค์สุดท้ายของลัคมิดได้เข้านับถือศาสนาคริสต์[23]
คริสต์ศาสนิกชนชาวอาหรับมีบทบาทสำคัญในสมัยใหม่ และเพราะได้ก่อร่างการศึกษาแก่ชนชั้นสูงและชนชั้นกระฎุมพี[24] พวกเขามีส่วนสำคัญในด้านการเมือง, ธุรกิจ และวัฒนธรรมของโลกอาหรับ[25][26] ปัจจุบัน ชาวอาหรับคริสเตียนยังคงมีบทบาทในสังคมอาหรับ และชาวคริสต์มักมีทรัพย์สิน, การศึกษาดี และเป็นกลางทางการเมือง[27]
ดูเพิ่ม
[แก้]- ศาสนาคริสต์ในตะวันออกกลาง
- รายชื่อคำศัพท์ศาสนาคริสต์ในภาษาอาหรับ
- สังคมอาหรับออร์ทอดอกซ์
- การแปลคำภีร์ไบเบิล (ภาษาอาหรับ)
- ยอห์นชาวดามัสกัส
- โซโฟรเนียสแห่งเยรูซาเลม
- ตัฆลิบ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 "Christians of the Middle East - Country by Country Facts and Figures on Christians of the Middle East". Middleeast.about.com. 2009-05-09. สืบค้นเมื่อ 2012-12-06.
- ↑ "Who are Egypt's Coptic Christians?".
- ↑ ดูCoptic identity
- ↑ https://gulf2000.columbia.edu/images/maps/Syria_Ethnic_Shift_2010-2018_lg.png.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ "CIA World Factbook - Lebanon". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-12. สืบค้นเมื่อ 2020-08-03.
- ↑ ดูMaronites#Identity
- ↑ 7.0 7.1 Kildani, Hanna (8 July 2015). "Archived copy" الأب د. حنا كلداني: نسبة الأردنيين المسيحيين المقيمين 3.68% (ภาษาอาหรับ). Abouna.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 October 2016. สืบค้นเมื่อ 17 July 2016.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "CBS data on Christian population in Israel (2016)" (ภาษาฮิบรู). Cbs.gov.il.
- ↑ "The Shlama Population Project". Shlama. สืบค้นเมื่อ 13 June 2019.
- ↑ ดูAssyrians#Identity and subdivisions
- ↑ "The Beleaguered Christians of the Palestinian-Controlled Areas, by David Raab". Jcpa.org. สืบค้นเมื่อ 2012-12-06.
- ↑ Chehata, Hanan (2016-03-22). "The plight and flight of Palestinian Christians" (PDF). Middle East Monitor. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 8 June 2012. สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.
- ↑ Bundeszentrale für politische Bildung. "Christen in der islamischen Welt". สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.
- ↑ "Christian Converts in Morocco Fear Fatwa Calling for Their Execution". Christianity Today. สืบค้นเมื่อ 15 August 2016.
- ↑ "'House-Churches' and Silent Masses —The Converted Christians of Morocco Are Praying in Secret". Vice. 2015-03-23. สืบค้นเมื่อ 15 August 2016.
- ↑ Phares, Walid (2001). "Arab Christians: An Introduction". Arabic Bible Outreach Ministry. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 November 2004.
{{cite web}}
: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์) - ↑ https://gulf2000.columbia.edu/images/maps/Syria_Ethnic_Shift_2010-2018_lg.png.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ ดูMaronites#Identity
- ↑ "Middle East :: Lebanon — The World Factbook - Central Intelligence Agency". www.cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-12. สืบค้นเมื่อ 2020-07-08.
- ↑ ดูCoptic identity
- ↑ B. A., Politics and History. "Facts and Figures on Christians of the Middle East". ThoughtCo (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-07-08.
- ↑ "Demographics". Arab American Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 October 2016. สืบค้นเมื่อ 4 September 2016.
- ↑ Philip K. Hitti. History of the Arabs. 6th ed.; Macmillan and St. Martin's Press, 1967, pp. 78–84 (on the Ghassanids and Lakhmids) and pp. 87–108 (on Yemen and the Hijaz).
- ↑ Radai, Itamar (2008). "The collapse of the Palestinian-Arab middle class in 1948: The case of Qatamon" (PDF). Middle Eastern Studies. 43 (6): 961–982. doi:10.1080/00263200701568352. ISSN 0026-3206. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-10-18. สืบค้นเมื่อ 15 August 2016.
- ↑ Teague, Michael (2010). "The New Christian Question". Al Jadid Magazine. 16 (62). สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.
- ↑ Pacini, Andrea (1998). Christian Communities in the Arab Middle East: The Challenge of the Future. Clarendon Press. pp. 38, 55. ISBN 978-0-19-829388-0.
- ↑ "Pope to Arab Christians: Keep the Faith". The Huffington Post. 2009-06-15. สืบค้นเมื่อ 20 April 2016.
สารานุกรม
[แก้]- Sir Ronald Storrs, The Memoirs of Sir Ronald Storrs. Putnam, New York, 1937.
- Itamar Katz and Ruth Kark, 'The Greek Orthodox Patriarchate of Jerusalem and its congregation: dissent over real estate' in The International Journal of Middle East Studies, Vol. 37, 2005.
- Orthodox Shun Patriarch Irineos
- Seth J. Frantzman, The Strength and the Weakness: The Arab Christians in Mandatory Palestine and the 1948 War, unpublished M.A thesis at The Hebrew University of Jerusalem.