ข้ามไปเนื้อหา

กีซา

พิกัด: 29°59′13″N 31°12′42″E / 29.9870°N 31.2118°E / 29.9870; 31.2118
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก กิซา)
กีซา

الجيزة
ϯⲡⲉⲣⲥⲓⲥ, ϯⲡⲉⲣⲥⲓⲟⲓ
ϯⲡⲉⲣⲥⲓⲥ ⲙ̀ⲃⲁⲃⲩⲗⲱⲛ
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
ภาพพาโนรามาของกีซา, พีระมิดแห่งกีซา, มหาวิทยาลัยไคโร, มหาสฟิงซ์แห่งกีซา, สมาร์ตวิลเลจ
ธงของกีซา
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของกีซา
ตรา
กีซาตั้งอยู่ในประเทศอียิปต์
กีซา
กีซา
ที่ตั้งของกีซาในประเทศอียิปต์
กีซาตั้งอยู่ในแอฟริกา
กีซา
กีซา
กีซา (แอฟริกา)
พิกัด: 29°59′13″N 31°12′42″E / 29.9870°N 31.2118°E / 29.9870; 31.2118
ประเทศอียิปต์
เขตผู้ว่าการกีซา
ก่อตั้งค.ศ. 642
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีFaud al Muhammed Sisi
พื้นที่
 • นคร1,579.75 ตร.กม. (609.94 ตร.ไมล์)
ความสูง19 เมตร (62 ฟุต)
ประชากร
 (2021[1])
 • นคร9,200,000 คน
 • ความหนาแน่น5,800 คน/ตร.กม. (15,000 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง4,498,518 คน
เขตเวลาUTC+2 (เวลามาตรฐานอียิปต์)
รหัสพื้นที่(+20) 2
เว็บไซต์Giza.gov.eg

กีซา (อังกฤษ: Giza) หรือ อัลญีซะฮ์ (อาหรับ: الجيزة) เป็นนครใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศอียิปต์ รองจากไคโร และเป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของแอฟริกา เป็นรองเพียงกินชาซา, เลกอส และไคโร ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ อยู่ห่างจากศูนย์กลางของไคโรไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 4.9 กิโลเมตร (3 ไมล์) กีซาเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการกีซาที่มีประชากร 9.2 ล้านคนใน ค.ศ. 2021

กีซาเป็นเมืองที่มีชื่อเสียง เป็นที่ตั้งของที่ราบสูงกีซา ที่ตั้งของอนุสรณ์โบราณ อย่างเช่น เกรตสฟิงซ์และพีระมิด 3 แห่งที่สร้างในสมัยราชวงศ์ที่ 4 ของอียิปต์

ภูมิศาสตร์

[แก้]

นครกีซาเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการกีซา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เขตทางตะวันออกเฉียงเหนือของเขตผู้ว่าการ นครนี้มีประชากรตามสำมะโนแห่งชาติใน ค.ศ. 2006 ที่ 2,681,863 คน[2][3]

ภูมิอากาศ

[แก้]

กีซามีสภาพภูมิอากาศทะเลทรายร้อน (เคิพเพิน: BWh) คล้ายกับไคโร ในช่วงฤดูใบไม้ผลิมักมีพายุนำฝุ่นทรายเข้านครในช่วงเดือนมีนาคมถึงมษายน อุณหภูมิในช่วงฤดูหนาวตอนกลางวันสูงถึง 16 ถึง 20 องศาเซลเซียส (61 ถึง 68 องศาฟาเรนไฮต์) ส่วนตอนกลางคือลดต่ำถึงน้อยกว่า 7 °C (45 °F) ในฤดูร้อน อุณหภูมิสามารถขึ้นสูงถึง 40 องศาเซลเซียส (104 องศาฟาเรนไฮต์) และต่ำลงถึง 20 °C (68 °F) นครกีซาไม่ค่อยพบฝน และอากาศหนาวเย็นแทบไม่ได้พบเห็นบ่อยมาก

จนถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 อุณหภูมิสูงสุดเท่าที่บันทึกคือ 46 องศาเซลเซียส (115 องศาฟาเรนไฮต์) ในวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1965 ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดเท่าที่บันทึกคือ 2 องศาเซลเซียส (36 องศาฟาเรนไฮต์) ในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1966[4]

ข้อมูลภูมิอากาศของกีซา
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 28
(82)
30
(86)
36
(97)
41
(106)
43
(109)
46
(115)
41
(106)
43
(109)
39
(102)
40
(104)
36
(97)
30
(86)
46
(115)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 19.3
(66.7)
20.9
(69.6)
24.2
(75.6)
28.4
(83.1)
32.0
(89.6)
34.9
(94.8)
34.5
(94.1)
34.4
(93.9)
32.4
(90.3)
30.2
(86.4)
25.4
(77.7)
21.1
(70)
28.14
(82.66)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 13.0
(55.4)
14.0
(57.2)
17.2
(63)
20.5
(68.9)
24.0
(75.2)
27.1
(80.8)
27.5
(81.5)
27.5
(81.5)
25.6
(78.1)
23.5
(74.3)
19.2
(66.6)
15.0
(59)
21.18
(70.12)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.8
(44.2)
7.2
(45)
10.3
(50.5)
12.7
(54.9)
16.1
(61)
19.3
(66.7)
20.6
(69.1)
20.7
(69.3)
18.9
(66)
16.8
(62.2)
13.0
(55.4)
8.9
(48)
14.28
(57.7)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 2
(36)
4
(39)
5
(41)
8
(46)
11
(52)
16
(61)
17
(63)
17
(63)
16
(61)
11
(52)
4
(39)
4
(39)
2
(36)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 4
(0.16)
3
(0.12)
2
(0.08)
1
(0.04)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
3
(0.12)
4
(0.16)
17
(0.67)
แหล่งที่มา 1: Climate-Data.org[5]
แหล่งที่มา 2: Voodoo Skies[4] สำหรับสถิติอุณหภูมิ

อ้างอิง

[แก้]
  1. "الجهاز المركزي للتعبئة العامة والإحصاء". www.capmas.gov.eg. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2018. สืบค้นเมื่อ 27 October 2018.
  2. Anthony Appiah; Henry Louis Gates (Jr.) (2010). Encyclopedia of Africa. Oxford University Press. p. 403. ISBN 978-0-19-533770-9.
  3. "Giza, Egypt". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 February 2019. สืบค้นเมื่อ 21 February 2019.
  4. 4.0 4.1 "El-Giza, Egypt". Voodoo Skies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 October 2013. สืบค้นเมื่อ 16 August 2013.
  5. "Climate: Giza – Climate graph, Temperature graph, Climate table". Climate-Data.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 September 2013. สืบค้นเมื่อ 16 August 2013.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Der Manuelian, Peter. 2017. Digital Giza: Visualizing the Pyramids. Cambridge, Massachusetts: Harvard University Press.
  • Hawass, Zahi A. 2010. Wonders of the Pyramids: The Sound and Light of Giza. Cairo: Misr Company for Sound, Light, & Cinema.
  • --. 2011. Newly-Discovered Statues From Giza, 1990-2009. Cairo: Ministry of State for Antiquities.
  • Magli, G. 2016. "The Giza 'written' landscape and the double project of King Khufu." Time & Mind-the Journal of Archaeology Consciousness and Culture 9, no.1: 57–74.
  • Khattab, Hind A. S., Nabil Younis, and Huda Zurayk. 1999. Women, Reproduction, and Health In Rural Egypt: The Giza Study. Cairo, Egypt: American University in Cairo Press.
  • Kormysheva, Ė. E., Svetlana Malykh, and Sergey Vetokhov. 2010. Giza, Eastern Necropolis: Russian Archaeological Mission In Giza. Moscow: Institute of Oriental Studies, Russian Academy of Sciences.
  • Lawton, Ian, and Chris Ogilvie-Herald. 2000. Giza: The Truth: the People, Politics and History Behind the World's Most Famous Archaeological Site. Rev. ed. London: Virgin.
  • Lehner, Mark, and Zahi A. Hawass. 2017. Giza and the Pyramids: The Definitive History. Chicago: The University of Chicago Press.