ข้ามไปเนื้อหา

รัฐกลันตัน

พิกัด: 5°15′N 102°0′E / 5.250°N 102.000°E / 5.250; 102.000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก กลันตัน)
รัฐกลันตัน

Negeri Kelantan
เนอเกอรีเกอลันตันดารุลนาอิม
Negeri Kelantan Darul Naim
การถอดเสียงต่าง ๆ
 • มลายูKelantan (รูมี)
کلنتن(ยาวี)
 • มลายูปัตตานีكلنتن(ยาวี),
กือลาแต (ไทย)
ธงของรัฐกลันตัน
ธง
ตราราชการของรัฐกลันตัน
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
เบอร์เซอระฮ์ เกอปาดา ตูฮัน เกราจาอัน เกอลันตัน
("อาณาจักรกลันตันยอมจำนนต่อพระเจ้า")
เพลง: เซอลามัตซุลตัน
   รัฐกลันตัน ใน    ประเทศมาเลเซีย
พิกัด: 5°15′N 102°0′E / 5.250°N 102.000°E / 5.250; 102.000
เมืองหลวงโกตาบารู
เมืองเจ้าผู้ครองโกตาบารู
การปกครอง
 • ประเภทราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญระบบรัฐสภา
 • สุลต่านสมเด็จพระราชาธิบดีมูฮัมมัดที่ 5
 • มุขมนตรีอะฮ์มัด ยักกบ (พรรคอิสลามมาเลเซีย)
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด17,100 ตร.กม. (6,600 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2018)[2]
 • ทั้งหมด2,001,000 คน
 • ความหนาแน่น120 คน/ตร.กม. (300 คน/ตร.ไมล์)
ดัชนีรัฐ
 • ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (2010)0.723 (สูง) (อันดับที่ 13)
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานมาเลเซีย)
รหัสไปรษณีย์15xxx ถึง 18xxx
รหัสโทรศัพท์09
รหัส ISO 3166MY-03
ทะเบียนพาหนะD
ปาตานีปกครอง[3]ค.ศ. 1603
สยามปกครอง[3]พฤศจิกายน ค.ศ. 1786
รัฐสุลต่านกลันตัน[4]ค.ศ. 1800
สหราชอาณาจักรปกครอง[4]ค.ศ. 1909
ญี่ปุ่นยึดครอง[4]8 ธันวาคม ค.ศ. 1941
เข้าร่วมสหพันธรัฐมาลายา[5]1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1948
รับเอกราชเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมาลายา[6]31 สิงหาคม ค.ศ. 1957
ก่อตั้งสหพันธรัฐมาเลเซีย[7]16 กันยายน ค.ศ. 1963
เว็บไซต์www.kelantan.gov.my

กลันตัน[8] หรือ เกอลันตัน[8] (มลายู: Kelantan, کلنتن; มลายูปัตตานี: كلنتن, กือลาแต) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย มีชื่อเฉลิมเกียรติเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลนาอิม ("ถิ่นที่อยู่ที่สวยงาม") เมืองหลวงและเมืองของเจ้าผู้ครองประจำรัฐคือโกตาบารู

รัฐกลันตันตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดนราธิวาส ประเทศไทย ทางทิศเหนือ ติดต่อกับรัฐตรังกานูทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ รัฐเประทางทิศตะวันตก และรัฐปะหังทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจรดทะเลจีนใต้

จากการที่พรรคอิสลามมาเลเซีย (Parti Islam Se-Malaysia) มีฐานอำนาจอยู่ในรัฐนี้มานานหลายปี จึงทำให้กลันตันเป็นรัฐที่มีความเป็นอนุรักษนิยมทางสังคมมากที่สุดในประเทศ องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ประกอบด้วยชาวมลายูร้อยละ 95 ชาวไทยร้อยละ 3 ชาวจีนร้อยละ 1.9 และอื่น ๆ ร้อยละ 0.1

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Laporan Kiraan Permulaan 2010". Jabatan Perangkaan Malaysia. p. 27. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 July 2011. สืบค้นเมื่อ 24 January 2011.
  2. "Population by States and Ethnic Group". Department of Information, Ministry of Communications and Multimedia, Malaysia. 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 February 2016. สืบค้นเมื่อ 12 February 2015.
  3. 3.0 3.1 http://studentsrepo.um.edu.my/835/5/BAB_2.pdf
  4. 4.0 4.1 4.2 Ismail, Hafawati (2015). KUIH DAN MANISAN KELANTAN: Langkah Demi Langkah. ISBN 9789678605694.
  5. "Federation of Malaya is inaugurated – Singapore History". eresources.nlb.gov.sg.
  6. "Official Portal of Malaysia National Archives". Arkib.gov.my. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2018. สืบค้นเมื่อ 2018-08-18.
  7. "Portal Rasmi Arkib Negara Malaysia". www.arkib.gov.my.
  8. 8.0 8.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.