กรดซัลฟิวริก
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
Sulfuric acid
| |||
ชื่ออื่น
Oil of vitriol
Hydrogen sulfate | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.028.763 | ||
EC Number |
| ||
เลขอี | E513 (acidity regulators, ...) | ||
2122 | |||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 1830 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
H2SO4, sometimes expressed (HO)2SO2 | |||
มวลโมเลกุล | 98.079 g/mol | ||
ลักษณะทางกายภาพ | Colorless viscous liquid | ||
กลิ่น | Odorless | ||
ความหนาแน่น | 1.8302 g/cm3, liquid[1] | ||
จุดหลอมเหลว | 10.31[1] องศาเซลเซียส (50.56 องศาฟาเรนไฮต์; 283.46 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 337[1] องศาเซลเซียส (639 องศาฟาเรนไฮต์; 610 เคลวิน) When sulfuric acid is above 300 °C (572 °F; 573 K), it gradually decomposes to SO3 + H2O | ||
miscible, exothermic | |||
ความดันไอ | 0.001 mmHg (20 °C)[2] | ||
pKa | pKa1 = −2.8 pKa2 = 1.99 | ||
เบส | Bisulfate | ||
ความหนืด | 26.7 cP (20 °C) | ||
โครงสร้าง[3] | |||
monoclinic | |||
C2/c | |||
a = 818.1(2) pm, b = 469.60(10) pm, c = 856.3(2) pm α = 90°, β = 111.39(3)
°, γ = 90° | |||
หน่วยสูตร (Z)
|
4 | ||
อุณหเคมี | |||
Std molar
entropy (S⦵298) |
157 J/(mol·K)[4] | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−814 kJ/mol[4] | ||
ความอันตราย | |||
GHS labelling: | |||
อันตราย | |||
H314 | |||
P260, P264, P280, P301+P330+P331, P303+P361+P353, P304+P340, P305+P351+P338, P310, P321, P363, P405, P501 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | Non-flammable | ||
ค่าขีดจำกัดเกณฑ์ (TLV)
|
15 mg/m3 (IDLH), 1 mg/m3 (TWA), 2 mg/m3 (STEL) | ||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LD50 (median dose)
|
2140 mg/kg (rat, oral)[5] | ||
LC50 (median concentration)
|
| ||
LCLo (lowest published)
|
87 mg/m3 (guinea pig, 2.75 hr)[5] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
TWA 1 mg/m3[2] | ||
REL (Recommended)
|
TWA 1 mg/m3[2] | ||
IDLH (Immediate danger)
|
15 mg/m3[2] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | External MSDS | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
strong acidsที่เกี่ยวข้อง
|
|||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
|||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กรดกำมะถัน หรือ กรดซัลฟิวริก (อังกฤษ: sulfuric acid หรือ sulphuric acid) มีสูตรเคมีว่า H2SO4 เป็นกรดแร่ (mineral acid) แก่ ละลายได้ในน้ำในทุกความเข้มข้น ค้นพบโดย ญาบิร อิบิน ฮัยยาน (Jabir Ibn Hayyan) นักเคมีชาวอาหรับ พบว่ากรดซัลฟิวริกมีประโยชน์มากมายและเป็นสารเคมีที่มีการผลิตมากที่สุด รองจากน้ำ ในปี ค.ศ. 2001 ทั่วโลกผลิตรวมกันประมาณ 165 ล้านตัน ซึ่งมูลค่าประมาณ 320,000 ล้านบาท (8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ประโยชน์ของกรดกำมะถันได้แก่ ใช้ในการผลิตปุ๋ย กระบวนการผลิตแร่ การสังเคราะห์เคมี การกำจัดน้ำเสีย ใช้เป็นสารละลายอิเล็กทรอไลต์ในแบตเตอรี่และกระบวนการกลั่นน้ำมัน กรดกำมะถันมีชื่อเดิมคือ "Zayt al-Zaj" หรือ "ออยล์ออฟวิตริออล" (oil of vitriol)
คุณสมบัติทางเคมี
[แก้]ถึงแม้ว่าเราสามารถผลิตกรดซัลฟิวริกความเข้มข้น 100% แต่จะมีการสูญเสีย SO3 ที่จุดเดือดทำให้กรดที่ได้เหลือความเข้มข้นประมาณ 98.3% กรดความเข้มข้น 98% มีเสถียรภาพมากในการเก็บรักษา รูปแบบผลิตภัณฑ์นี้ของกรดจะถูกเรียกว่า กรดซัลฟิวริก เข้มข้น ("concentrated" sulfuric acid) ผลิตภัณฑ์ของ กรดซัลฟิวริก ที่ความเข้มข้นอื่นมีดังนี้:
- 33.5%, เรียก กรดแบตเตอรี่ (battery acid) ใช้ใน แบตเตอรี่ประเภทตะกั่ว-กรด
- 62.18%, เรียก แชมเบอร์ (chamber) หรือ กรดปุ๋ย (fertilizer acid)
- 77.67%, เรียก โทเวอร์ (tower) หรือ กรดโกลเวอร์ (Glover acid)
- 98%, เรียก กรดซัลฟิวริก เข้มข้น (concentrated) (กรดซัลฟิวริก สามารถละลายผิวหนังชั้นนอกจนเหลือแต่กระดูกสบายๆภายใน3-5นาที และสามารถละลายกระดูกได้เช่นกันแต่จะช้ากว่าเนื้อเยื้อหรือผิวหนัง) และ สามารถพบได้ในเขตน้ำพุร้อน บางที่จุดจะมีความเข้มข้นสูง ซึ่งในอดีตเคยมีมนุษย์สูดดมอากาศที่ปนเปื้อนจนทำให้ถึงแก่ความตาย และเคยมีมนุษย์ตกไปในบ่อน้ำจนเสียชีวิตมากมาย ถึงแม้จะมีป้ายเตือนเช่นกัน
อ้างอิง
[แก้]- Chenier, Philip J. Survey of Industrial Chemistry, pp 45-57. John Wiley & Sons, New York, 1987. ISBN 0-471-01077-4.
- Greenwood, N.N. and A. Earnshaw. Chemistry of the Elements, pp 837-845. Pergamon Press, Oxford, UK, 1984. ISBN 0-08-022057-6.
- Handbook of Chemistry and Physics, 71st edition, CRC Press, Ann Arbor, Michigan, 1990.
- Khairallah, Amin A. Outline of Arabic Contributions to Medicine, chapter 10. Beirut, 1946.
- ↑ 1.0 1.1 1.2 Haynes, William M. (2014). CRC Handbook of Chemistry and Physics (ภาษาอังกฤษ) (95 ed.). CRC Press. pp. 4–92. ISBN 9781482208689. สืบค้นเมื่อ 18 November 2018.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0577". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ Kemnitz, E.; Werner, C.; Trojanov, S. (15 November 1996). "Reinvestigation of Crystalline Sulfuric Acid and Oxonium Hydrogensulfate". Acta Crystallographica Section C Crystal Structure Communications. 52 (11): 2665–2668. doi:10.1107/S0108270196006749.
- ↑ 4.0 4.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles 6th Ed. Houghton Mifflin Company. p. A23. ISBN 978-0-618-94690-7.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "Sulfuric acid". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).