ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะบูบักร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Abdullah Theanrungruang (คุย | ส่วนร่วม)
from Arabic source
Abdullah Theanrungruang (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
}}}}
}}}}
{{อิสลาม}}'''อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก (ผู้เชื่อมั่น) อับดุลเลาะฮ์ บุตร อะบูกุฮาฟะฮ์ ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์''' ([[ภาษาอาหรับ|อาหรับ]]: أبو بَكر الصّدِّيق عبد الله بن أبي قُحافة التَّيمي القُرَشيّ) คือ[[เคาะลีฟะฮ์ผู้ทรงธรรม]]ท่านแรก เป็นหนึ่งใน[[สิบผู้ได้รับข่าวสวรรค์]] สหายสนิทของท่านศาสดา[[มุฮัมมัด|มุฮำมัด]] และเพื่อนร่วมเดินทางคราวท่านศาสดา[[ฮิจเราะห์|อพยพ]]ไปยังเมือง[[มะดีนะฮ์]]
{{อิสลาม}}'''อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก (ผู้เชื่อมั่น) อับดุลเลาะฮ์ บุตร อะบูกุฮาฟะฮ์ ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์''' ([[ภาษาอาหรับ|อาหรับ]]: أبو بَكر الصّدِّيق عبد الله بن أبي قُحافة التَّيمي القُرَشيّ) คือ[[เคาะลีฟะฮ์ผู้ทรงธรรม]]ท่านแรก เป็นหนึ่งใน[[สิบผู้ได้รับข่าวสวรรค์]] สหายสนิทของท่านศาสดา[[มุฮัมมัด|มุฮำมัด]] และเพื่อนร่วมเดินทางคราวท่านศาสดา[[ฮิจเราะห์|อพยพ]]ไปยังเมือง[[มะดีนะฮ์]]

[[ซุนนี|นิกายอะฮ์ลุซซุนนะฮ์]]ถือว่าอะบูบักร์คือผู้ที่ประเสริฐที่สุดรองลงมาจากบรรดา[[นบี|ศาสดาผู้เผยวจนะ]]ทั้งหลาย และเป็น[[บรรดาสหายของท่านศาสดามุฮำมัด|สหายท่านศาสดามุฮำมัด]]ที่มีศรัทธาและความมัธยัสถ์มากที่สุด และยังเป็นผู้ที่ท่านศาสดามุฮำมัดรักที่สุดรองลงมาจาก[[อาอิชะฮ์|ท่านหญิงอาอิชะฮ์]] และโดยปกติ อะบูบักร์จะได้รับการเรียกขานพร้อมฉายานามว่า "อัศศิดดี๊ก" (ผู้เชื่อมั่น) อันเป็นฉายานามที่ท่านศาสดาเป็นผู้ตั้งให้ อันเนื่องจากศรัทธาอันเปี่ยมล้นที่อะบูบักร์มีต่อท่านศาสดา
[[ซุนนี|นิกายอะฮ์ลุซซุนนะฮ์]]ถือว่าอะบูบักร์คือผู้ที่ประเสริฐที่สุดรองลงมาจากบรรดา[[นบี|ศาสดาผู้เผยวจนะ]]ทั้งหลาย และเป็น[[บรรดาสหายของท่านศาสดามุฮำมัด|สหายท่านศาสดามุฮำมัด]]ที่มีศรัทธาและความมัธยัสถ์มากที่สุด และยังเป็นผู้ที่ท่านศาสดามุฮำมัดรักที่สุดรองลงมาจาก[[อาอิชะฮ์|ท่านหญิงอาอิชะฮ์]] และโดยปกติ อะบูบักร์จะได้รับการเรียกขานพร้อมฉายานามว่า "อัศศิดดี๊ก" (ผู้เชื่อมั่น) อันเป็นฉายานามที่ท่านศาสดาเป็นผู้ตั้งให้ อันเนื่องจากศรัทธาอันเปี่ยมล้นที่อะบูบักร์มีต่อท่านศาสดา


อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก เกิดที่เมือง[[มักกะฮ์]] ราวปี ค.ศ. 573 คือหลังจาก[[ปีช้าง]] 2 ปีและ 6 เดือน<ref>فتح الباري (7/9)</ref><ref>الإصابة (2/341)</ref> เคยเป็นเศรษฐีของ[[กุเรช|ตระกูลกุรอยช์]]ใน[[ญาฮิลียะฮ์|ยุคอวิชชา]] (ยุคญาอิลียะห์ الجَاهِلِيَّة) ครั้นเมื่อท่านศาสดามุฮำมัดเชิญชวนอะบูบักร์ให้รับอิสลาม ท่านก็ได้รับศรัทธาอย่างไร้เคลือบแคลง อะบูบักร์จึงนับเป็นเสรีชนชายคนแรกที่เข้ารับอิสลาม
อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก เกิดที่เมือง[[มักกะฮ์]] ราวปี ค.ศ. 573 คือหลังจาก[[ปีช้าง]] 2 ปีและ 6 เดือน<ref>فتح الباري (7/9)</ref><ref>الإصابة (2/341)</ref> เคยเป็นเศรษฐีของ[[กุเรช|ตระกูลกุรอยช์]]ใน[[ญาฮิลียะฮ์|ยุคอวิชชา]] (ยุคญาอิลียะห์ الجَاهِلِيَّة) ครั้นเมื่อท่านศาสดามุฮำมัดเชิญชวนอะบูบักร์ให้รับอิสลาม ท่านก็ได้รับศรัทธาอย่างไร้เคลือบแคลง อะบูบักร์จึงนับเป็นเสรีชนชายคนแรกที่เข้ารับอิสลาม

หลังจากนั้น อะบูบักร์ก็[[ฮิจเราะห์|อพยพ]]ไปเมือง[[มะดีนะฮ์]]พร้อมกับท่านศาสดาในฐานะเพื่อนยาก และสู้ศึกเคียงบ่าเคียงไหล่กับท่านศาสดาในทุกสมรภูมิ และเมื่อท่านศาสดาป่วยหนักในครั้งที่ท่านจะเสียชีวิต ท่านก็ได้ใช้ให้อะบูบักร์เป็นผู้นำ[[ละหมาด]]แทนท่าน
หลังจากนั้น อะบูบักร์ก็[[ฮิจเราะห์|อพยพ]]ไปเมือง[[มะดีนะฮ์]]พร้อมกับท่านศาสดาในฐานะเพื่อนยาก และสู้ศึกเคียงบ่าเคียงไหล่กับท่านศาสดาในทุกสมรภูมิ และเมื่อท่านศาสดาป่วยหนักในครั้งที่ท่านจะเสียชีวิต ท่านก็ได้ใช้ให้อะบูบักร์เป็นผู้นำ[[ละหมาด]]แทนท่าน


บรรทัด 32: บรรทัด 30:


อะบูบักร์เสียชีวิตในวันจันทร์ที่ 22 [[ญุมาดัลอาคิเราะฮ์]] ฮ.ศ. 13 รวมสิริอายุ 63 ปี แล้ว[[อุมัร|อุมัร บุตร อัลคอฏฏอบ]] ก็สืบทอดตำแหน่งต่อจากท่าน
อะบูบักร์เสียชีวิตในวันจันทร์ที่ 22 [[ญุมาดัลอาคิเราะฮ์]] ฮ.ศ. 13 รวมสิริอายุ 63 ปี แล้ว[[อุมัร|อุมัร บุตร อัลคอฏฏอบ]] ก็สืบทอดตำแหน่งต่อจากท่าน

== ก่อนรับอิสลาม ==
== ก่อนรับอิสลาม ==


=== เชื้อสาย ===
=== เชื้อสาย ===
[[ไฟล์:Abu Bakr1.png|thumb|นามของท่านอะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก พร้อมคำอวยพร เขียนด้วยภาษาอาหรับ]]
* อับดุลเลาะฮ์ บุตร[[อะบูกุฮาฟะฮ์|อุษมาน]] บุตรอามิร บุตรอัมร์ บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]] บุตร[[กะอ์บ บุตรลุอัย|กะอ์บ]] บุตร[[ลุอัย บุตรฆอลิบ|ลุอัย]] บุตร[[ฆอลิบ บุตรฟิฮ์ร|ฆอลิบ]] บุตร[[ฟิฮ์ร บุตรมาลิก|ฟิฮ์ร]] บุตร[[มาลิก บุตรอันนัฎร์|มาลิก]] บุตร[[อันนัฎร์ บุตรกุรอยช์|อันนัฎร์]] บุตร[[กุเรช|กุรอยช์]] บุตร[[กินานะฮ์ บุตรคุซัยมะฮ์|กินานะฮ์]] บุตร[[คุซัยมะฮ์ บุตรมุดริกะฮ์|คุซัยมะฮ์]] บุตร[[มุดริกะฮ์ บุตรอิลยาส|มุดริกะฮ์]] บุตร[[อิลยาส บุตรมุฎอร|อิลยาส]] บุตร[[มุฎอร]] บุตร[[นิซาร บุตรมะอ์ด|นิซาร]] บุตร[[มะอ์ด บุตรอัดนาน|มะอ์ด]] บุตร[[อัดนาน]] แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์<ref>[[أسد الغابة في معرفة الصحابة]]، [[ابن الأثير الجزري]]، دار الكتب العلمية، الطبعة الأولى 1415هـ-1994م، ج3 ص310</ref><ref>[[الإصابة في تمييز الصحابة]]، [[ابن حجر العسقلاني]]، 4/ 144-145</ref> มาบรรจบกับท่านศาสดามุฮำมัด ณ ปู่คนที่ 6 ([[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ]])<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص27</ref>
* อับดุลเลาะฮ์ บุตร[[อะบูกุฮาฟะฮ์|อุษมาน]] บุตรอามิร บุตรอัมร์ บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]] บุตร[[กะอ์บ บุตรลุอัย|กะอ์บ]] บุตร[[ลุอัย บุตรฆอลิบ|ลุอัย]] บุตร[[ฆอลิบ บุตรฟิฮ์ร|ฆอลิบ]] บุตร[[ฟิฮ์ร บุตรมาลิก|ฟิฮ์ร]] บุตร[[มาลิก บุตรอันนัฎร์|มาลิก]] บุตร[[อันนัฎร์ บุตรกุรอยช์|อันนัฎร์]] บุตร[[กุเรช|กุรอยช์]] บุตร[[กินานะฮ์ บุตรคุซัยมะฮ์|กินานะฮ์]] บุตร[[คุซัยมะฮ์ บุตรมุดริกะฮ์|คุซัยมะฮ์]] บุตร[[มุดริกะฮ์ บุตรอิลยาส|มุดริกะฮ์]] บุตร[[อิลยาส บุตรมุฎอร|อิลยาส]] บุตร[[มุฎอร]] บุตร[[นิซาร บุตรมะอ์ด|นิซาร]] บุตร[[มะอ์ด บุตรอัดนาน|มะอ์ด]] บุตร[[อัดนาน]] แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์<ref>[[أسد الغابة في معرفة الصحابة]]، [[ابن الأثير الجزري]]، دار الكتب العلمية، الطبعة الأولى 1415هـ-1994م، ج3 ص310</ref><ref>[[الإصابة في تمييز الصحابة]]، [[ابن حجر العسقلاني]]، 4/ 144-145</ref> มาบรรจบกับท่านศาสดามุฮำมัด ณ ปู่คนที่ 6 ([[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ]])<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص27</ref>


* '''บิดา''' : [[อะบูกุฮาฟะฮ์|อะบูกุฮาฟะฮ์ อุษมาน]] บุตรอามิร บุตรอัมร์ บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]] แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ มารดาของท่านคือ กอยละฮ์ บุตรีอะซาฮ์ บุตร ริยาฮ์ บุตรอับดุลเลาะฮ์ บุตรกอรฏ์ บุตรร่อซาฮ์ บุตรอะดีย์ บุตรกะอ์บ<ref>إكمال الكمال - ابن ماكولا، ج7 ص 30</ref><ref>نسب قريش - مصعب الزبيري ، ج1 ص122</ref> โดยอะบูกุฮาฟะฮ์ได้รับอิสลามในวันแห่ง[[การพิชิตมักกะฮ์]] และมีชีวิตยืนยาวหลังการเสียชีวิตของอะบูบักร์บุตรของท่าน และเป็นบุคคลแรกในอิสลามที่ได้รับมรดกจากเคาะลีฟะฮ์  แต่อะบูกุฮาฟะฮ์เลือกไม่รับมรดกและนำส่วนแบ่งของตนให้กับบุตรของอะบูบักร์  อะบูกุฮาฟะฮ์เสียชีวิตปี ฮ.ศ. 14   อายุ 97 ปี<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص575</ref>
*'''บิดา''' : [[อะบูกุฮาฟะฮ์|อะบูกุฮาฟะฮ์ อุษมาน]] บุตรอามิร บุตรอัมร์ บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]] แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ มารดาของท่านคือ กอยละฮ์ บุตรีอะซาฮ์ บุตร ริยาฮ์ บุตรอับดุลเลาะฮ์ บุตรกอรฏ์ บุตรร่อซาฮ์ บุตรอะดีย์ บุตรกะอ์บ<ref>إكمال الكمال - ابن ماكولا، ج7 ص 30</ref><ref>نسب قريش - مصعب الزبيري ، ج1 ص122</ref> โดยอะบูกุฮาฟะฮ์ได้รับอิสลามในวันแห่ง[[การพิชิตมักกะฮ์]] และมีชีวิตยืนยาวหลังการเสียชีวิตของอะบูบักร์บุตรของท่าน และเป็นบุคคลแรกในอิสลามที่ได้รับมรดกจากเคาะลีฟะฮ์  แต่อะบูกุฮาฟะฮ์เลือกไม่รับมรดกและนำส่วนแบ่งของตนให้กับบุตรของอะบูบักร์  อะบูกุฮาฟะฮ์เสียชีวิตปี ฮ.ศ. 14   อายุ 97 ปี<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص575</ref>
* '''มารดา''' : [[ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร|อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา]] บุตรีศอคร์ บุตรอามิร ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์|อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]]  แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ รับอิสลามพร้อมกับอะบูบักร์ผู้เป็นบุตร  ก่อนเหตุการณ์การอพยพฮิจเราะฮ์  และเสียชีวิตก่อนอะบูกุฮาฟะฮ์<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج7 ص314</ref>
*'''มารดา''' : [[ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร|อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา]] บุตรีศอคร์ บุตรอามิร ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์|อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตร[[ตระกูลสาขาตัยม์|ตัยม์]] บุตร[[มุรเราะฮ์ บุตรกะอ์บ|มุรเราะฮ์]]  แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ รับอิสลามพร้อมกับอะบูบักร์ผู้เป็นบุตร  ก่อนเหตุการณ์การอพยพฮิจเราะฮ์  และเสียชีวิตก่อนอะบูกุฮาฟะฮ์<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج7 ص314</ref>


=== วัยเยาว์ ===
=== วัยเยาว์ ===
[[ไฟล์:Mecca from Jabal Nur.JPG|thumb|left|ทิวทัศน์เมืองมักกะฮ์ในปัจจุบัน ที่ที่ท่านอะบูบักร์เกิดและโต]]
[[ไฟล์:Mecca from Jabal Nur.JPG|thumb|left|upright|ทิวทัศน์เมืองมักกะฮ์ในปัจจุบัน ที่ที่ท่านอะบูบักร์เกิดและโต]]
อะบูบักร์ เกิดที่เมือง[[มักกะฮ์]] ปี ค.ศ. 573  คือหลังจาก[[ปีช้าง]]ที่ท่าน[[มุฮัมหมัด|นบีมุฮัมหมัด]]เกิดเป็นระยะเวลา 2 ปี 6 เดือน<ref>فتح الباري (7/9)، الإصابة (2/341)</ref>  อะบูบักร์จึงนับว่าอายุน้อยกว่าท่านศาสดา  นักวิชาการมีมติฉันท์ว่าท่านอบูบักรเกิดหลัง[[ปีช้าง]]อย่างแน่นอน  แต่มีความเห็นต่างในเรื่องของช่วงเวลาหลังปีช้าง  บางทรรศนะจึงกล่าวว่า 3 ปี  อีกทัศนะบอกว่า 2 ปี 6 เดือน  และอีกทัศนะบอกว่า 2 ปีกว่า ๆ โดยมิได้กำหนดระยะเดือนที่ชัดเจน<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص29</ref><ref>تاريخ الخلفاء، للإمام [[جلال الدين السيوطي]]، تحقيق إبراهيم صالح، دار صادر، بيروت، الطبعة الأولى 1417هـ- 1997م، ص56</ref>
อะบูบักร์ เกิดที่เมือง[[มักกะฮ์]] ปี ค.ศ. 573  คือหลังจาก[[ปีช้าง]]ที่ท่าน[[มุฮัมหมัด|นบีมุฮัมหมัด]]เกิดเป็นระยะเวลา 2 ปี 6 เดือน<ref>فتح الباري (7/9)، الإصابة (2/341)</ref>  อะบูบักร์จึงนับว่าอายุน้อยกว่าท่านศาสดา  นักวิชาการมีมติฉันท์ว่าท่านอบูบักรเกิดหลัง[[ปีช้าง]]อย่างแน่นอน  แต่มีความเห็นต่างในเรื่องของช่วงเวลาหลังปีช้าง  บางทรรศนะจึงกล่าวว่า 3 ปี  อีกทัศนะบอกว่า 2 ปี 6 เดือน  และอีกทัศนะบอกว่า 2 ปีกว่า ๆ โดยมิได้กำหนดระยะเดือนที่ชัดเจน<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص29</ref><ref>تاريخ الخلفاء، للإمام [[جلال الدين السيوطي]]، تحقيق إبراهيم صالح، دار صادر، بيروت، الطبعة الأولى 1417هـ- 1997م، ص56</ref>


อะบูบักร์เกิดและเติบโตที่เมืองมักกะฮ์  และเป็นหนึ่งในผู้นำและผู้ทรงเกียรติของตระกูลกุรอยช์ในยุคอวิชชา และยังเป็นที่รักและชื่นชมอย่างมาก  เมื่ออะบูบักร์จะออกความเห็นใด ๆ ชาวกุรอยช์จะคล้อยตาม<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص310</ref> โดยมีคำกล่าวว่า  คนจากตระกูลกุรอยช์ที่มีเกียรติที่สุดมีอยู่สิบกว่าคน  คือ [[อัลอับบาส บุตรอับดุลมุฏฏอบิบ]] จาก[[ตระกูลสาขาฮาชิม|สาขาฮาชิม]], [[อะบูซุฟยาน บุตรฮัรบ์]] จาก[[ตระกูลสาขาอุมัยยะฮ์|สาขาอุมัยยะฮ์]], [[อุษมาน บุตรฏอลหะฮ์|อุษมาน บุตรฏอลหะฮ์ บุตรซัมอะฮ์ บุตรอัลอัสวัด]] จาก[[ตระกูลสาขาอะสัด|สาขาอะสัด]], อะบูบักร์ จาก[[ตระกูลสาขาตัยม์|สาขาตัยม์]], [[คอลิด บุตรอัลวะลีด]] จาก[[ตระกูลสาขามัคซูม|สาขามัคซูม]], [[อุมัร|อุมัร บุตรอัลคอฏฏอบ]] จาก[[ตระกูลสาขาอะดีย์|สาขาอะดีย์]], [[ซอฟวาน บุตรอุมัยยะฮ์]] จาก[[ตระกูลสาขาญุมะห์|สาขาญุมะห์]]  เป็นต้น<ref>أشهر مشاهير الإسلام، 1/ 10</ref>
อะบูบักร์เกิดและเติบโตที่เมืองมักกะฮ์  และเป็นหนึ่งในผู้นำและผู้ทรงเกียรติของตระกูลกุรอยช์ในยุคอวิชชา และยังเป็นที่รักและชื่นชมอย่างมาก  เมื่ออะบูบักร์จะออกความเห็นใด ๆ ชาวกุรอยช์จะคล้อยตาม<ref>أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص310</ref> โดยมีคำกล่าวว่า  คนจากตระกูลกุรอยช์ที่มีเกียรติที่สุดมีอยู่สิบกว่าคน  คือ [[อัลอับบาส บุตรอับดุลมุฏฏอบิบ]] จาก[[ตระกูลสาขาฮาชิม|สาขาฮาชิม]], [[อะบูซุฟยาน บุตรฮัรบ์]] จาก[[ตระกูลสาขาอุมัยยะฮ์|สาขาอุมัยยะฮ์]], [[อุษมาน บุตรฏอลหะฮ์|อุษมาน บุตรฏอลหะฮ์ บุตรซัมอะฮ์ บุตรอัลอัสวัด]] จาก[[ตระกูลสาขาอะสัด|สาขาอะสัด]], อะบูบักร์ จาก[[ตระกูลสาขาตัยม์|สาขาตัยม์]], [[คอลิด บุตรอัลวะลีด]] จาก[[ตระกูลสาขามัคซูม|สาขามัคซูม]], [[อุมัร|อุมัร บุตรอัลคอฏฏอบ]] จาก[[ตระกูลสาขาอะดีย์|สาขาอะดีย์]], [[ซอฟวาน บุตรอุมัยยะฮ์]] จาก[[ตระกูลสาขาญุมะห์|สาขาญุมะห์]]  เป็นต้น<ref>أشهر مشاهير الإسلام، 1/ 10</ref>
[[ไฟล์:Bahira.jpg|thumb|โบสถ์ของบาทหลางนามบะฮีรอ ณ เมืองบุสรอ แคว้นซีเรีย|alt=]]
[[ไฟล์:Bahira.jpg|thumb|right|โบสถ์ของบาทหลางนามบะฮีรอ ณ เมืองบุสรอ แคว้นซีเรีย]]

ใน[[ญาฮิลียะฮ์|ยุคอวิชชา]]  อะบูบักร์จะมีชื่อเสียงในเรื่องของวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูล  โดยเป็นหนึ่งในผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลและเรื่องราวเหตุการณ์ของชาวอาหรับยุคก่อน  ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากบรรดาผู้รู้ทางด้านวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากมายอาทิ [[อุกอยล์ บุตรอะบูตอลิบ]]  และ [[ญุบัยร์ บุตรมุฏอิม]] เป็นต้น  อะบูบักร์ยังเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ชาวอาหรับ  เนื่องจากท่านไม่เคยกล่าวถึงวงศ์ตระกูลใดในทางเสีย ๆ หาย ๆ ดังเช่นที่ผู้รู้ท่านอื่นทำ<ref>التهذيب، 2/ 183</ref> โดยมีรายงานว่าท่านศาสดาเคยกล่าวยกย่องไว้ว่า : "อบูบักร์เป็นผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากที่สุดของตระกูลกุรอยช์ (إن أبا بكر أعلمُ قريش بأنسابها)"<ref>[[صحيح مسلم]]، رقم: 2490</ref><ref>الطبراني في الكبير، رقم: 3582</ref>
ใน[[ญาฮิลียะฮ์|ยุคอวิชชา]]  อะบูบักร์จะมีชื่อเสียงในเรื่องของวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูล  โดยเป็นหนึ่งในผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลและเรื่องราวเหตุการณ์ของชาวอาหรับยุคก่อน  ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากบรรดาผู้รู้ทางด้านวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากมายอาทิ [[อุกอยล์ บุตรอะบูตอลิบ]]  และ [[ญุบัยร์ บุตรมุฏอิม]] เป็นต้น  อะบูบักร์ยังเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ชาวอาหรับ  เนื่องจากท่านไม่เคยกล่าวถึงวงศ์ตระกูลใดในทางเสีย ๆ หาย ๆ ดังเช่นที่ผู้รู้ท่านอื่นทำ<ref>التهذيب، 2/ 183</ref> โดยมีรายงานว่าท่านศาสดาเคยกล่าวยกย่องไว้ว่า : "อบูบักร์เป็นผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากที่สุดของตระกูลกุรอยช์ (إن أبا بكر أعلمُ قريش بأنسابها)"<ref>[[صحيح مسلم]]، رقم: 2490</ref><ref>الطبراني في الكبير، رقم: 3582</ref>


อะบูบักร์ประกอบอาชีพเป็นพ่อค้า  [[อิบนุกะษีร อัดดิมัชกีย์|อิบนุกะษีร]]กล่าวว่า : "อะบูบักร์เป็นพ่อค้าที่มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ  มีผู้คนมากมายเข้าหาอะบูบักร์ เพราะความรู้  การค้า  และมนุษยสัมพันธ์ที่ดีของท่าน"<ref name="abc1">[[البداية والنهاية]]، [[ابن كثير الدمشقي|ابن كثير]]، ج3 ص39</ref>  อะบูบักร์ได้ท่องไปยังแว่นแคว้นต่าง ๆ เพื่อการค้า  และเคยเดินทางไป[[บุสรอ|เมืองบุสรอ]]ใน[[ลิแวนต์|แคว้นซีเรีย]]  อะบูบักร์มีต้นทุนการค้าถึง 40,000 ดิรฮัม  และท่านยังเป็นที่รู้จักในยุคอวิชชาในฐานะผู้ใจบุญที่มักบริจาคทาน<ref>أبو بكر الصديق، علي طنطاوي، دار المنارة، جدة، السعودية، 1406هـ-1986م، ص66</ref><ref>التاريخ الإسلامي، الخلفاء الراشدون، محمود شاكر، المكتب الإسلامي، 1411هـ، มีบันทึกรายงานว่า  ครั้งหนึ่ง ขณะที่อะบูบักร์อยู่ในแคว้นซีเรีย  ท่านได้เล่าความฝันหนึ่งให้กับ[[บาทหลวง บะฮีรอ|บาทหลวงนามบะฮีรอ]]ฟัง บาทหลวงจึงถามอะบูบักร์ว่า : "ท่านมาจากที่ใดกัน?"
อะบูบักร์ประกอบอาชีพเป็นพ่อค้า  [[อิบนุกะษีร อัดดิมัชกีย์|อิบนุกะษีร]]กล่าวว่า : "อะบูบักร์เป็นพ่อค้าที่มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ  มีผู้คนมากมายเข้าหาอะบูบักร์ เพราะความรู้  การค้า  และมนุษยสัมพันธ์ที่ดีของท่าน"<ref name="abc1">[[البداية والنهاية]]، [[ابن كثير الدمشقي|ابن كثير]]، ج3 ص39</ref>  อะบูบักร์ได้ท่องไปยังแว่นแคว้นต่าง ๆ เพื่อการค้า  และเคยเดินทางไป[[บุสรอ|เมืองบุสรอ]]ใน[[ลิแวนต์|แคว้นซีเรีย]]  อะบูบักร์มีต้นทุนการค้าถึง 40,000 ดิรฮัม  และท่านยังเป็นที่รู้จักในยุคอวิชชาในฐานะผู้ใจบุญที่มักบริจาคทาน<ref>أبو بكر الصديق، علي طنطاوي، دار المنارة، جدة، السعودية، 1406هـ-1986م، ص66</ref><ref>التاريخ الإسلامي، الخلفاء الراشدون، محمود شاكر، المكتب الإسلامي، 1411هـ، ص30</ref> มีบันทึกรายงานว่า  ครั้งหนึ่ง ขณะที่อะบูบักร์อยู่ในแคว้นซีเรีย  ท่านได้เล่าความฝันหนึ่งให้กับ[[บาทหลวง บะฮีรอ|บาทหลวงนามบะฮีรอ]]ฟัง บาทหลวงจึงถามอะบูบักร์ว่า : "ท่านมาจากที่ใดกัน?" อะบูบักร์ตอบว่า : "จากเมืองมักกะฮ์" บาทหลวง : "จากตระกูลใดเล่า?" อะบูบักร์ : "ตระกูลกุรอยช์" บาทหลวง : "ท่านเป็นอะไร?" อะบูบักร์ : "เป็นพ่อค้า" บาทหลวง : "หากพระเจ้าจะทำให้ฝันของท่านเป็นจริง  พระองค์จะทรงส่งศาสนทูตมาจากกลุ่มชนของท่าน แล้วท่านจะได้เป็นผู้รับใช้สนิทในขณะที่เขามีชีวิต และเป็นผู้สืบทอดอำนาจหลังจากเขาสิ้นชีวิต"

อะบูบักร์ตอบว่า : "จากเมืองมักกะฮ์"

บาทหลวง : "จากตระกูลใดเล่า?"

อะบูบักร์ : "ตระกูลกุรอยช์"

บาทหลวง : "ท่านเป็นอะไร?"

อะบูบักร์ : "เป็นพ่อค้า"

บาทหลวง : "หากพระเจ้าจะทำให้ฝันของท่านเป็นจริง  พระองค์จะทรงส่งศาสนทูตมาจากกลุ่มชนของท่าน แล้วท่านจะได้เป็นผู้รับใช้สนิทในขณะที่เขามีชีวิต และเป็นผู้สืบทอดอำนาจหลังจากเขาสิ้นชีวิต"<nowiki><ref>الخلفاء الراشدون، محمود شاكر، ص34</nowiki></ref>

กล่าวกันว่าอะบูบักร์ไม่เคยดื่ม[[สุรา]]แม้แต่ในยุคอวิชชา  โดยท่านได้ถือว่าสุราเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับตัวท่านเอง  อะบูบักร์จึงเป็นหนึ่งในผู้ที่บริสุทธิ์ที่สุดในยุคอวิชชา<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص48</ref>  [[อาอิชะฮ์|ท่านหญิงอาอิชะฮ์]]ได้เล่าว่า : "อะบูบักร์ได้ถือว่าสุราเป็นที่ต้องห้ามสำหรับตนเอง ดังนั้นท่านจึงไม่เคยดื่มสุราทั้งในยุคอวิชชาและในยุคอิสลาม มีครั้งหนึ่งอะบูบักร์ได้เดินผ่านคนเมาคนหนึ่งซึ่งกำลังใช้มือจับกองอุจจาระแล้วนำมาไว้ใกล้ปาก  แต่เมื่อเขาได้กลิ่นเขาก็โยนอุจจาระทิ้ง อะบูบักร์จึงกล่างวว่า: "คน ๆ นี้ไม่รู้เลยว่าเขากำลังทำอะไรอยู่  เขาเพียงได้กลิ่นอุจจาระแล้วก็ปัดทิ้ง"<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص34</ref>  และครั้งหนึ่งเคยมีผู้ถามท่านว่า : "ท่านเคยดื่มสุราในยุคอวิชชาไหม?"

อะบูบักร์ตอบว่า : "ฉันขอความคุ้มครองจากอัลเลาะฮ์"

คนผู้นั้นจึงถามขึ้นว่า : "ทำไมกันล่ะ?"


กล่าวกันว่าอะบูบักร์ไม่เคยดื่ม[[สุรา]]แม้แต่ในยุคอวิชชา  โดยท่านได้ถือว่าสุราเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับตัวท่านเอง  อะบูบักร์จึงเป็นหนึ่งในผู้ที่บริสุทธิ์ที่สุดในยุคอวิชชา<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص48</ref>  [[อาอิชะฮ์|ท่านหญิงอาอิชะฮ์]]ได้เล่าว่า : "อะบูบักร์ได้ถือว่าสุราเป็นที่ต้องห้ามสำหรับตนเอง ดังนั้นท่านจึงไม่เคยดื่มสุราทั้งในยุคอวิชชาและในยุคอิสลาม มีครั้งหนึ่งอะบูบักร์ได้เดินผ่านคนเมาคนหนึ่งซึ่งกำลังใช้มือจับกองอุจจาระแล้วนำมาไว้ใกล้ปาก  แต่เมื่อเขาได้กลิ่นเขาก็โยนอุจจาระทิ้ง อะบูบักร์จึงกล่างวว่า: "คน ๆ นี้ไม่รู้เลยว่าเขากำลังทำอะไรอยู่  เขาเพียงได้กลิ่นอุจจาระแล้วก็ปัดทิ้ง"<ref>سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص34</ref> และครั้งหนึ่งเคยมีผู้ถามท่านว่า : "ท่านเคยดื่มสุราในยุคอวิชชาไหม?" อะบูบักร์ตอบว่า : "ฉันขอความคุ้มครองจากอัลเลาะฮ์" คนผู้นั้นจึงถามขึ้นว่า : "ทำไมกันล่ะ?" อะบูบักร์ : "ฉันต้องรักษาเกียรติและคุณธรรมของฉัน  เพราะผู้ที่ดื่มสุรานั้นคือผู้ที่ทำลายเกียรติและคุณธรรมของตนเอง"<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص49</ref>
อะบูบักร์ : "ฉันต้องรักษาเกียรติและคุณธรรมของฉัน  เพราะผู้ที่ดื่มสุรานั้นคือผู้ที่ทำลายเกียรติและคุณธรรมของตนเอง"<ref>تاريخ الخلفاء، [[جلال الدين السيوطي]]، ص49</ref>


เช่นเดียวกัน  มีบันทึกรายงานว่าท่านไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลยแม้แต่ครั้งเดียว  อะบูบักร์ยังเคยพูดต่อหน้า[[บรรดาสหายของท่านศาสดามุฮำมัด|บรรดาสหายท่านศาสดา]]ว่า : "ฉันไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลย ครั้งหนึ่งขณะที่ฉันเพิ่งจะบรรลุวัยหนุ่ม [[อะบูกุฮาฟะฮ์]]ได้จูงมือของฉันไปยังห้อง ๆ หนึ่งที่มีรูปปั้น  แล้วพูดกับฉันว่า "นี่คือเทพเจ้าของเจ้า"  แล้วพ่อก็เดินออกไปปล่อยฉันไว้ตามลำพัง  ฉันจึงเข้าไปใกล้ ๆ รูปปั้นแล้วพูดกับมันว่า "ฉันหิว  ขอจงให้อาหารฉันเถิด" แต่มันไม่ตอบ  ฉันจึงพูดอีกว่า "ฉันไม่มีเสื้อผ้า  ขอจงประทานเสื้อผ้าให้หน่อย" แต่มันก็ไม่ตอบ  ฉันจึงขว้างหินพังหน้ารูปปั้นนั้น"<ref>أصحاب الرسول، محمود المصري، مكتبة أبي حذيفة السلفي، 1420هـ-1999م، 1/ 58</ref><ref>الخلفاء الراشدين، محمود شاكر، ص31</ref>
เช่นเดียวกัน  มีบันทึกรายงานว่าท่านไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลยแม้แต่ครั้งเดียว  อะบูบักร์ยังเคยพูดต่อหน้า[[บรรดาสหายของท่านศาสดามุฮำมัด|บรรดาสหายท่านศาสดา]]ว่า : "ฉันไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลย ครั้งหนึ่งขณะที่ฉันเพิ่งจะบรรลุวัยหนุ่ม [[อะบูกุฮาฟะฮ์]]ได้จูงมือของฉันไปยังห้อง ๆ หนึ่งที่มีรูปปั้น  แล้วพูดกับฉันว่า "นี่คือเทพเจ้าของเจ้า"  แล้วพ่อก็เดินออกไปปล่อยฉันไว้ตามลำพัง  ฉันจึงเข้าไปใกล้ ๆ รูปปั้นแล้วพูดกับมันว่า "ฉันหิว  ขอจงให้อาหารฉันเถิด" แต่มันไม่ตอบ  ฉันจึงพูดอีกว่า "ฉันไม่มีเสื้อผ้า  ขอจงประทานเสื้อผ้าให้หน่อย" แต่มันก็ไม่ตอบ  ฉันจึงขว้างหินพังหน้ารูปปั้นนั้น"<ref>أصحاب الرسول، محمود المصري، مكتبة أبي حذيفة السلفي، 1420هـ-1999م، 1/ 58</ref><ref>الخلفاء الراشدين، محمود شاكر، ص31</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:31, 26 สิงหาคม 2563

อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก
อับดุลเลาะฮ์ บุตร กุฮาฟะห์
นามของท่านอะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก พร้อมคำอวยพร เขียนด้วยภาษาอาหรับ
อะบูบักร์ ผู้เชื่อมั่น (อัศศิดดี๊ก), ผู้เป็นสหายสนิท, ผู้ยำเกรงพระเจ้า, หนี่งในสองคนในถ้ำ, ผู้สืบทอดอำนาจจากท่านศาสดา (ขออัลเลาะฮ์ทรงพอพระทัยท่าน)
เกิด50 ก่อน ฮ.ศ. / ค.ศ.573
เมืองมักกะฮ์, แคว้นติฮามะฮ์, คาบสมุทรอาหรับ
เสียชีวิตญุมาดัลอูลา ฮ.ศ.13 / 23 สิงหาคม ค.ศ.634
เมืองมะดีนะฮ์, แคว้นฮิญาซ, คาบสมุทรอาหรับ
คู่สมรส
บิดามารดา
ทายาท
(มารดา)

อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก (ผู้เชื่อมั่น) อับดุลเลาะฮ์ บุตร อะบูกุฮาฟะฮ์ ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ (อาหรับ: أبو بَكر الصّدِّيق عبد الله بن أبي قُحافة التَّيمي القُرَشيّ) คือเคาะลีฟะฮ์ผู้ทรงธรรมท่านแรก เป็นหนึ่งในสิบผู้ได้รับข่าวสวรรค์ สหายสนิทของท่านศาสดามุฮำมัด และเพื่อนร่วมเดินทางคราวท่านศาสดาอพยพไปยังเมืองมะดีนะฮ์ นิกายอะฮ์ลุซซุนนะฮ์ถือว่าอะบูบักร์คือผู้ที่ประเสริฐที่สุดรองลงมาจากบรรดาศาสดาผู้เผยวจนะทั้งหลาย และเป็นสหายท่านศาสดามุฮำมัดที่มีศรัทธาและความมัธยัสถ์มากที่สุด และยังเป็นผู้ที่ท่านศาสดามุฮำมัดรักที่สุดรองลงมาจากท่านหญิงอาอิชะฮ์ และโดยปกติ อะบูบักร์จะได้รับการเรียกขานพร้อมฉายานามว่า "อัศศิดดี๊ก" (ผู้เชื่อมั่น) อันเป็นฉายานามที่ท่านศาสดาเป็นผู้ตั้งให้ อันเนื่องจากศรัทธาอันเปี่ยมล้นที่อะบูบักร์มีต่อท่านศาสดา

อะบูบักร์ อัศศิดดี๊ก เกิดที่เมืองมักกะฮ์ ราวปี ค.ศ. 573 คือหลังจากปีช้าง 2 ปีและ 6 เดือน[1][2] เคยเป็นเศรษฐีของตระกูลกุรอยช์ในยุคอวิชชา (ยุคญาอิลียะห์ الجَاهِلِيَّة) ครั้นเมื่อท่านศาสดามุฮำมัดเชิญชวนอะบูบักร์ให้รับอิสลาม ท่านก็ได้รับศรัทธาอย่างไร้เคลือบแคลง อะบูบักร์จึงนับเป็นเสรีชนชายคนแรกที่เข้ารับอิสลาม หลังจากนั้น อะบูบักร์ก็อพยพไปเมืองมะดีนะฮ์พร้อมกับท่านศาสดาในฐานะเพื่อนยาก และสู้ศึกเคียงบ่าเคียงไหล่กับท่านศาสดาในทุกสมรภูมิ และเมื่อท่านศาสดาป่วยหนักในครั้งที่ท่านจะเสียชีวิต ท่านก็ได้ใช้ให้อะบูบักร์เป็นผู้นำละหมาดแทนท่าน

ต่อมาเมื่อท่านศาสดามุฮำมัดสิ้นชีวิตในวันจันทร์ที่ 12 ร่อบีอุลเอาวัล ฮ.ศ. 11 และอะบูบักร์ได้รับการให้สัตยาบันเป็นเคาะลีฟะฮ์ผู้สืบอำนาจต่อจากท่านศาสดา อะบูบักร์ก็ได้บริหารกิจการรัฐอิสลามด้วยการแต่งตั้งผู้ปกครองและผู้พิพากษาตามพื้นที่ต่าง ๆ รวมถึงตระเตรียมกองทัพไพร่พล อีกทั้งยังเกิดเหตุการณ์กบฏละทิ้งศาสนาอิสลามของเผ่าอาหรับจำนวนมาก ทำให้อะบูบักร์ต้องส่งกองทัพออกไปปราบกบฏ กระทั่งคาบสมุทรอาหรับทั้งหมดยอมอยู่ภายใต้การปกครองของอิสลาม และเมื่อเสร็จศึกปราบกบฏ อะบูบักร์ยังได้ส่งกองทัพไปพิชิตแคว้นอิรักและซีเรีย

อะบูบักร์เสียชีวิตในวันจันทร์ที่ 22 ญุมาดัลอาคิเราะฮ์ ฮ.ศ. 13 รวมสิริอายุ 63 ปี แล้วอุมัร บุตร อัลคอฏฏอบ ก็สืบทอดตำแหน่งต่อจากท่าน

ก่อนรับอิสลาม

เชื้อสาย

  • บิดา : อะบูกุฮาฟะฮ์ อุษมาน บุตรอามิร บุตรอัมร์ บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตรตัยม์ บุตรมุรเราะฮ์ แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ มารดาของท่านคือ กอยละฮ์ บุตรีอะซาฮ์ บุตร ริยาฮ์ บุตรอับดุลเลาะฮ์ บุตรกอรฏ์ บุตรร่อซาฮ์ บุตรอะดีย์ บุตรกะอ์บ[6][7] โดยอะบูกุฮาฟะฮ์ได้รับอิสลามในวันแห่งการพิชิตมักกะฮ์ และมีชีวิตยืนยาวหลังการเสียชีวิตของอะบูบักร์บุตรของท่าน และเป็นบุคคลแรกในอิสลามที่ได้รับมรดกจากเคาะลีฟะฮ์  แต่อะบูกุฮาฟะฮ์เลือกไม่รับมรดกและนำส่วนแบ่งของตนให้กับบุตรของอะบูบักร์  อะบูกุฮาฟะฮ์เสียชีวิตปี ฮ.ศ. 14   อายุ 97 ปี[8]
  • มารดา : อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร ตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์|อุมมุ้ลคอยร์ ซัลมา บุตรีศอคร์ บุตรอามิร บุตรกะอ์บ บุตรสะอ์ด บุตรตัยม์ บุตรมุรเราะฮ์  แห่งตระกูลกุรอยช์ สาขาตัยม์ รับอิสลามพร้อมกับอะบูบักร์ผู้เป็นบุตร  ก่อนเหตุการณ์การอพยพฮิจเราะฮ์  และเสียชีวิตก่อนอะบูกุฮาฟะฮ์[9]

วัยเยาว์

ทิวทัศน์เมืองมักกะฮ์ในปัจจุบัน ที่ที่ท่านอะบูบักร์เกิดและโต

อะบูบักร์ เกิดที่เมืองมักกะฮ์ ปี ค.ศ. 573  คือหลังจากปีช้างที่ท่านนบีมุฮัมหมัดเกิดเป็นระยะเวลา 2 ปี 6 เดือน[10]  อะบูบักร์จึงนับว่าอายุน้อยกว่าท่านศาสดา  นักวิชาการมีมติฉันท์ว่าท่านอบูบักรเกิดหลังปีช้างอย่างแน่นอน  แต่มีความเห็นต่างในเรื่องของช่วงเวลาหลังปีช้าง  บางทรรศนะจึงกล่าวว่า 3 ปี  อีกทัศนะบอกว่า 2 ปี 6 เดือน  และอีกทัศนะบอกว่า 2 ปีกว่า ๆ โดยมิได้กำหนดระยะเดือนที่ชัดเจน[11][12]

อะบูบักร์เกิดและเติบโตที่เมืองมักกะฮ์  และเป็นหนึ่งในผู้นำและผู้ทรงเกียรติของตระกูลกุรอยช์ในยุคอวิชชา และยังเป็นที่รักและชื่นชมอย่างมาก  เมื่ออะบูบักร์จะออกความเห็นใด ๆ ชาวกุรอยช์จะคล้อยตาม[13] โดยมีคำกล่าวว่า  คนจากตระกูลกุรอยช์ที่มีเกียรติที่สุดมีอยู่สิบกว่าคน  คือ อัลอับบาส บุตรอับดุลมุฏฏอบิบ จากสาขาฮาชิม, อะบูซุฟยาน บุตรฮัรบ์ จากสาขาอุมัยยะฮ์, อุษมาน บุตรฏอลหะฮ์ บุตรซัมอะฮ์ บุตรอัลอัสวัด จากสาขาอะสัด, อะบูบักร์ จากสาขาตัยม์, คอลิด บุตรอัลวะลีด จากสาขามัคซูม, อุมัร บุตรอัลคอฏฏอบ จากสาขาอะดีย์, ซอฟวาน บุตรอุมัยยะฮ์ จากสาขาญุมะห์  เป็นต้น[14]

โบสถ์ของบาทหลางนามบะฮีรอ ณ เมืองบุสรอ แคว้นซีเรีย

ในยุคอวิชชา  อะบูบักร์จะมีชื่อเสียงในเรื่องของวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูล  โดยเป็นหนึ่งในผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลและเรื่องราวเหตุการณ์ของชาวอาหรับยุคก่อน  ซึ่งได้รับการถ่ายทอดจากบรรดาผู้รู้ทางด้านวิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากมายอาทิ อุกอยล์ บุตรอะบูตอลิบ  และ ญุบัยร์ บุตรมุฏอิม เป็นต้น  อะบูบักร์ยังเป็นที่ชื่นชอบในหมู่ชาวอาหรับ  เนื่องจากท่านไม่เคยกล่าวถึงวงศ์ตระกูลใดในทางเสีย ๆ หาย ๆ ดังเช่นที่ผู้รู้ท่านอื่นทำ[15] โดยมีรายงานว่าท่านศาสดาเคยกล่าวยกย่องไว้ว่า : "อบูบักร์เป็นผู้รู้วิชาการสืบลำดับวงศ์ตระกูลมากที่สุดของตระกูลกุรอยช์ (إن أبا بكر أعلمُ قريش بأنسابها)"[16][17]

อะบูบักร์ประกอบอาชีพเป็นพ่อค้า  อิบนุกะษีรกล่าวว่า : "อะบูบักร์เป็นพ่อค้าที่มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ  มีผู้คนมากมายเข้าหาอะบูบักร์ เพราะความรู้  การค้า  และมนุษยสัมพันธ์ที่ดีของท่าน"[18]  อะบูบักร์ได้ท่องไปยังแว่นแคว้นต่าง ๆ เพื่อการค้า  และเคยเดินทางไปเมืองบุสรอในแคว้นซีเรีย  อะบูบักร์มีต้นทุนการค้าถึง 40,000 ดิรฮัม  และท่านยังเป็นที่รู้จักในยุคอวิชชาในฐานะผู้ใจบุญที่มักบริจาคทาน[19][20] มีบันทึกรายงานว่า  ครั้งหนึ่ง ขณะที่อะบูบักร์อยู่ในแคว้นซีเรีย  ท่านได้เล่าความฝันหนึ่งให้กับบาทหลวงนามบะฮีรอฟัง บาทหลวงจึงถามอะบูบักร์ว่า : "ท่านมาจากที่ใดกัน?" อะบูบักร์ตอบว่า : "จากเมืองมักกะฮ์" บาทหลวง : "จากตระกูลใดเล่า?" อะบูบักร์ : "ตระกูลกุรอยช์" บาทหลวง : "ท่านเป็นอะไร?" อะบูบักร์ : "เป็นพ่อค้า" บาทหลวง : "หากพระเจ้าจะทำให้ฝันของท่านเป็นจริง  พระองค์จะทรงส่งศาสนทูตมาจากกลุ่มชนของท่าน แล้วท่านจะได้เป็นผู้รับใช้สนิทในขณะที่เขามีชีวิต และเป็นผู้สืบทอดอำนาจหลังจากเขาสิ้นชีวิต"

กล่าวกันว่าอะบูบักร์ไม่เคยดื่มสุราแม้แต่ในยุคอวิชชา  โดยท่านได้ถือว่าสุราเป็นสิ่งต้องห้ามสำหรับตัวท่านเอง  อะบูบักร์จึงเป็นหนึ่งในผู้ที่บริสุทธิ์ที่สุดในยุคอวิชชา[21]  ท่านหญิงอาอิชะฮ์ได้เล่าว่า : "อะบูบักร์ได้ถือว่าสุราเป็นที่ต้องห้ามสำหรับตนเอง ดังนั้นท่านจึงไม่เคยดื่มสุราทั้งในยุคอวิชชาและในยุคอิสลาม มีครั้งหนึ่งอะบูบักร์ได้เดินผ่านคนเมาคนหนึ่งซึ่งกำลังใช้มือจับกองอุจจาระแล้วนำมาไว้ใกล้ปาก  แต่เมื่อเขาได้กลิ่นเขาก็โยนอุจจาระทิ้ง อะบูบักร์จึงกล่างวว่า: "คน ๆ นี้ไม่รู้เลยว่าเขากำลังทำอะไรอยู่  เขาเพียงได้กลิ่นอุจจาระแล้วก็ปัดทิ้ง"[22] และครั้งหนึ่งเคยมีผู้ถามท่านว่า : "ท่านเคยดื่มสุราในยุคอวิชชาไหม?" อะบูบักร์ตอบว่า : "ฉันขอความคุ้มครองจากอัลเลาะฮ์" คนผู้นั้นจึงถามขึ้นว่า : "ทำไมกันล่ะ?" อะบูบักร์ : "ฉันต้องรักษาเกียรติและคุณธรรมของฉัน  เพราะผู้ที่ดื่มสุรานั้นคือผู้ที่ทำลายเกียรติและคุณธรรมของตนเอง"[23]

เช่นเดียวกัน  มีบันทึกรายงานว่าท่านไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลยแม้แต่ครั้งเดียว  อะบูบักร์ยังเคยพูดต่อหน้าบรรดาสหายท่านศาสดาว่า : "ฉันไม่เคยกราบไหว้รูปปั้นเลย ครั้งหนึ่งขณะที่ฉันเพิ่งจะบรรลุวัยหนุ่ม อะบูกุฮาฟะฮ์ได้จูงมือของฉันไปยังห้อง ๆ หนึ่งที่มีรูปปั้น  แล้วพูดกับฉันว่า "นี่คือเทพเจ้าของเจ้า"  แล้วพ่อก็เดินออกไปปล่อยฉันไว้ตามลำพัง  ฉันจึงเข้าไปใกล้ ๆ รูปปั้นแล้วพูดกับมันว่า "ฉันหิว  ขอจงให้อาหารฉันเถิด" แต่มันไม่ตอบ  ฉันจึงพูดอีกว่า "ฉันไม่มีเสื้อผ้า  ขอจงประทานเสื้อผ้าให้หน่อย" แต่มันก็ไม่ตอบ  ฉันจึงขว้างหินพังหน้ารูปปั้นนั้น"[24][25]

ความประเสริฐของอะบูบักรฺตามทัศนะของซุนนีย์

ในช่วงท้ายของชีวิตท่านนบีมุฮัมมัดป่วย ได้ให้ท่านอะบูบักรฺเป็นผู้นำละหมาดแทนท่าน ดังนั้นเมื่อท่านนบีเสียชีวิต มุสลิมส่วนใหญ่จึงพร้อมใจกันแต่งตั้งท่านเป็นผู้นำ(คอลีฟะหฺ)ท่านแรก

อัลลอหฺได้กล่าวเกี่ยวกับความประเสริฐของอะบูบักรฺว่า "และพระองค์ทรงให้ผู้ยำเกรงห่างไกลจากไฟนรก ซึ่งเขาบริจาคทรัพย์สินของเขา เพื่อขัดเกลาตัวเขา" (ซูเราะตุลลัยล์)

เล่าจากอับดุลลอฮ์ บุตร อุมัร (เราะฎิยัลลอฮุอันฮุมา ) จากท่านนบีมุฮัมมัด (ซ.ล) ว่า แท้จริงท่านได้กล่าวแก่อบูบักรว่า “ท่าน(อบูบักร) เป็นมิตรของข้าพเจ้าที่บ่อน้ำ และเป็นมิตรของข้าพเจ้าในถ้ำ ”

เล่าจากอาอิชะฮ์ (เราะฎิยัลลอฮอันฮา) จากท่านนบีมุฮัมมัด (ศ) ได้กล่าวว่า “ไม่สมควรแก่คนกลุ่มหนึ่งซึ่งมีอะบูบักรฺร่วมอยู่ด้วย ที่คนอื่นจะเป็นผู้นำของคนกลุ่มนั้น นอกจากอะบูบักรฺ”

อ้างอิง

  1. فتح الباري (7/9)
  2. الإصابة (2/341)
  3. أسد الغابة في معرفة الصحابة، ابن الأثير الجزري، دار الكتب العلمية، الطبعة الأولى 1415هـ-1994م، ج3 ص310
  4. الإصابة في تمييز الصحابة، ابن حجر العسقلاني، 4/ 144-145
  5. سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص27
  6. إكمال الكمال - ابن ماكولا، ج7 ص 30
  7. نسب قريش - مصعب الزبيري ، ج1 ص122
  8. أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص575
  9. أسد الغابة، ابن الأثير، ج7 ص314
  10. فتح الباري (7/9)، الإصابة (2/341)
  11. سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص29
  12. تاريخ الخلفاء، للإمام جلال الدين السيوطي، تحقيق إبراهيم صالح، دار صادر، بيروت، الطبعة الأولى 1417هـ- 1997م، ص56
  13. أسد الغابة، ابن الأثير، ج3 ص310
  14. أشهر مشاهير الإسلام، 1/ 10
  15. التهذيب، 2/ 183
  16. صحيح مسلم، رقم: 2490
  17. الطبراني في الكبير، رقم: 3582
  18. البداية والنهاية، ابن كثير، ج3 ص39
  19. أبو بكر الصديق، علي طنطاوي، دار المنارة، جدة، السعودية، 1406هـ-1986م، ص66
  20. التاريخ الإسلامي، الخلفاء الراشدون، محمود شاكر، المكتب الإسلامي، 1411هـ، ص30
  21. تاريخ الخلفاء، جلال الدين السيوطي، ص48
  22. سيرة وحياة الصديق، مجدي فتحي السيد، ص34
  23. تاريخ الخلفاء، جلال الدين السيوطي، ص49
  24. أصحاب الرسول، محمود المصري، مكتبة أبي حذيفة السلفي، 1420هـ-1999م، 1/ 58
  25. الخلفاء الراشدين، محمود شاكر، ص31